• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('แกงผักหวานป่าไข่มดแดง', 'node/43019', '', '18.190.207.144', 0, '4644aedb7a9cfbd5df4822dda713a641', 171, 1716135899) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d7e79950137e0ced0fed09996b00e49a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600\" lang=\"TH\">โครงสร้างสมอง 3 ส่วนที่อยู่ในกะโหลกศีรษะของเรา</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600\" lang=\"TH\">   </span><strong><span style=\"color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-size: small\">คือระบบประสาทสำคัญที่ได้วิวัฒนาการมาจากยุคดึกดำบรรพ์จนถึงปัจจุบัน เป็นสิ่ง ที่ได้รับ มาจากบรรพบุรุษ และเป็นสิ่งที่ทำให้เราสามารถประสบความสำเร็จในชีวิต อย่างไรก็ตาม ควรจำไว้ว่าสมองเรา ยังมีความสามารถ ที่ยังไม่ได้พัฒนา หรือยังมีโอกาสที่จะพัฒนาไปได้อีกมาก ประสบการณ์ หรือการกระทำของเรารวมถึงความรู้สึก นึกคิด พฤติกรรม กิจกรรม ทั้งหลาย การหลับ การตื่น ความฝัน ล้วนขึ้นอยู่กับสมองทั้ง 3 ส่วนนี้ทั้งสิ้น ระบบสมอง 3 ส่วนนี้แสดงให้เห็นว่า ธรรมชาติสามารถ สร้าง โครงสร้างใหม่ และโครงสร้างที่สลับซับซ้อนขึ้นบนพื้นฐานของ โครงสร้างเก่า ๆ ซึ่งเปรียบเสมือนเซลล์ง่าย ๆ ที่ได้ผสมผสานตัวเองเข้าไป ในสิ่งมีชีวิตที่มีหลายเซลล์ เป็นการเปลี่ยน หรือวิวัฒนาการจากสัตว์เซลล์เดียวเป็นสัตว์หลายเซลล์ เริ่มด้วย ระบบประสาทอาร์เบรน หรือเรปทิเลียนเบรน ที่มีหน้าที่ขั้นพื้นฐานที่ง่ายที่สุดเป็นการทำงานในเด็กเล็ก ๆ ซึ่งค่อย ๆ มีพัฒนาการตามมา สมองส่วนนี้ทำหน้าที่เกี่ยวกับ ประสาทสัมผัส และสั่งงานให้กล้ามเนื้อมีการเคลื่อนไหว นอกจากทำหน้าที่พื้นฐานง่าย ๆ แล้ว สมองส่วนนี้ยังรับ และเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ การเรียนรู้จากสมอง หรือระบบประสาทส่วนถัดไป และทำให้เกิดเป็นระบบอัตโนมัติขึ้น ทำให้เรามีปฏิกิริยาอย่างง่าย ๆ ปราศจากอารมณ์ ปราศจากเหตุผล เช่น สัญชาตญาณ การมีชีวิตอยู่เพื่อความอยู่รอด ความต้องการอาหาร ที่พักอาศัย หรือการมีเพศสัมพันธ์ในรูปแบบง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อนของสัตว์บางประเภท</span></o:p></span></strong><strong><span style=\"color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-size: small\"></span></o:p></span></strong> <strong><span style=\"color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-size: small\"></span></o:p></span></strong>  </p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> </span></strong><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">สมองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสมัยเก่า หรือ สมองลิมบิกเบรน </span></strong><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\">Limbic<span lang=\"TH\"> </span>brain</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">   ระบบประสาท ส่วนถัดไปที่เรียกว่า ลิมบิกเบรน หรือ โอลด์แมมมาเลียนเบรน หรือสมองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสมัยเก่า สมองส่วนนี้จะอยู่ที่เทมโพราลโลบ หรือเป็นส่วนข้าง ๆ ของสมองใหญ่ ทั้งสองข้าง สมองส่วนนี้ได้รับการเรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า อีโมชั่นแนลเบรน (</span></strong><strong><span style=\"color: gray; font-family: Tahoma\">Emotional<span lang=\"TH\"> </span>brain)<span lang=\"TH\"> หรือสมองที่เกี่ยวกับ อารมณ์ หรือ ลิมบิก เบรน ซึ่ง </span>Limb<span lang=\"TH\"> มาจากคำว่า &quot;โอบรอบ&quot; คือ สมองส่วนนี้จะโอบรอบสมองส่วนที่เป็นอาร์เบรน หรือเรปทิเลียนเบรน สมองส่วนนี้จะทำให้ เราปรับตัวได้ดีขึ้น มีความฉลาดมากขึ้น และสามารถเรียนรู้โลกได้กว้างขึ้น ดังนั้นการที่มีสมองส่วนนี้จะเป็นการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจาก อาร์เบรน หรือ สมองส่วนที่เรียบง่าย มาเป็นสมองส่วนที่สลับซับซ้อนมากขึ้น มีความสามารถในการปรับตัว ปรับพฤติกรรมให้เข้ากับ สิ่งแวดล้อมได้มากขึ้น สมองส่วนนี้จะ เกี่ยวข้องกับความรู้สึก เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดี ไม่ดี โกรธ หรือมีความสุข เศร้า หรือสนุกสนาน รัก หรือเกลียด ถ้าหากว่า มีสิ่งกระตุ้น ที่ไม่ดีเข้ามา สมองส่วนนี้ก็แปลข้อมูลออกมา เป็นความเครียด หรือไม่มีความสุข หรือถ้าหากว่าเคยมีประสบการณ์ ที่เจ็บปวดมาก่อน ก็จะทำให้เกิดความรู้สึกไม่ชอบ เป็นต้น สมองส่วนนี้มีความเกี่ยวข้องกับ ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์ ระหว่างแม่กับลูก เด็กกับครอบครัว เด็กกับสังคม หรือระหว่างผู้หญิงกับผู้ชาย เกี่ยวข้องกับความฝัน วิสัยทัศน์ และความเพ้อฝัน</span></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: gray; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: gray; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></strong></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600\" lang=\"TH\">สมองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสมัยใหม่ หรือ นีโอคอร์เท็กซ์ (</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600\">Neocortex)</span></b><span style=\"font-size: 9pt; color: #333333\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600\">    <span lang=\"TH\"> </span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: gray\" lang=\"TH\">สมองส่วนที่ 3 หรือ สมองส่วนที่ทำหน้าที่สูงสุดในบรรดาสมองทั้งหมด เรียกว่า นีโอคอร์เท็กซ์ แปลว่า สมองส่วนใหม่ (</span><span style=\"color: gray\">New<span lang=\"TH\"> </span>brain)<span lang=\"TH\"> จะมีขนาดที่ใหญ่กว่าสมองอีก 2 ส่วนถึง 5 เท่าด้วยกัน สมองส่วนนี้จะเป็นที่รวมเกี่ยวกับ ความฉลาด ความคิดสร้างสรรค์ การคำนวณ ความรู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ความรักความเสน่หา สมองส่วนนี้จะทำให้เรารู้จักหาหนทางที่จะควบคุมสิ่งแวดล้อมในโลกนี้ สิ่งที่อยู่รอบตัวเรา และการมีอิทธิพลควบคุม คนอื่นด้วย นอกจากนั้นสมองส่วนนี้จะทำหน้าที่เกี่ยวกับ ความคิดทางด้านปรัชญา ศาสนา เป็นส่วนที่จะ ทำให้เห็นหนทางไปถึง จุดมุ่งหมายของมนุษยชน แต่อย่างไรก็ตาม สมองส่วนนี้ไม่สามารถที่จะทำงานได้ โดยปราศจาก สมองอีก 2 ส่วน คือ อาร์เบรน กับ ลิมบิกเบรน มาช่วยด้วย โดยสมองส่วนใหม่ หรือนีโอคอร์เท็กซ์ แบ่งแยกออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านขวา และด้านซ้าย แต่ละด้านจะมีหน้าที่เฉพาะเจาะจง มีเส้นใยประสาทที่เตรียมพร้อมสำหรับการเรียนรู้ และรับรู้ข้อมูลจากสมองอีก 2 ส่วน ในขณะที่มีการตอบสนองจากระบบอาร์เบรน ก็จะมี การป้อนข้อมูลนี้กลับเข้าไปในสมองส่วนใหม่ หรือนีโอคอร์เท็กซ์ด้วย ซึ่งทำให้เกิดการสร้างระบบประสาทขนานไป กับ ระบบประสาท ใน อาร์เบรน ถ้าหากไม่มี สมองนีโอคอร์เท็กซ์ การตอบสนองก็จะเป็นไป โดยอัตโนมัติ แต่เนื่องจากมีการควบคุมจากสมองส่วนใหม่ หรือ นีโอคอร์เท็กซ์ ทำให้การทำงานเป็นไปอย่างมีวัตถุประสงค์มากขึ้น มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น ถึงแม้ว่าสมอง 3 ส่วนจะทำงานประสานกัน แต่ในบางขณะเราสามารถที่จะเลือกใช้สมองส่วนใดส่วนหนึ่งมากกว่าส่วนอื่นได้ เช่น ในเรื่อง เพศสัมพันธ์ ระบบประสาทอาร์เบรนที่เกี่ยวข้องกับเพศสัมพันธ์จะทำงาน แต่จะเห็นได้ว่ามนุษย์เรามีรูปแบบการมี เพศสัมพันธ์ ที่ไม่เหมือน สัตว์ ซึ่งเป็นไปตามธรรมชาติอย่างง่าย ๆ เพศสัมพันธ์ของมนุษย์มีรูปแบบที่ซับซ้อนกว่า มีเรื่อง ของอารมณ์ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่น เรื่อง รัก ๆ ใคร่ ๆ แบบโรมิโอกับจูเลียต เป็นต้น ตรงนี้ต้องใช้สมองนีโอคอร์เท็กซ์เข้าไปเปลี่ยนรูปแบบ จากการสืบพันธุ์ง่าย ๆ แบบสัตว์ให้มี รูปแบบ ที่สลับซับซ้อนมากขึ้น อาร์เบรนยังเกี่ยวข้อง กับเรื่อง ของการใช้ภาษาด้วย พบว่า ทารกในครรภ์จะมีการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ บริเวณปากอย่างเฉพาะเจาะจง ในขณะที่ได้ยินเสียงของแม่พูด ต้องใช้สมองส่วนอาร์เบรน ทำงานสั่งให้กล้ามเนื้อตรงนั้นเคลื่อนไหว และเนื่องจากสมองส่วนอาร์เบรน อยู่บริเวณที่เรียกว่า เบรนสเต็ม (</span>Brain Stem)<span lang=\"TH\"> หรือก้านสมอง ซึ่งจะเป็นประตูปิดเปิดการรับรู้กับโลกภายนอก ดังนั้นถ้าหาก ระบบสมองส่วนนี้เสียไป เราจะไม่สามารถรับรู้โลกภายนอกได้เลย สมองส่วนอาร์เบรนยังมีหน้าที่เกี่ยวกับ การหลับการตื่น ทำให้เรารู้สึกตัวอยู่ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าสมองอาร์เบรนสามารถที่จะตอบสนอง โดยตรงกับประสาทสัมผัสที่รับเข้ามา แต่ปฏิกิริยาส่วนใหญ่แล้วจะต้องผ่านสมองส่วนอีโมชั่นแนล หรือลิมบิกเบรน เพื่อที่จะจัดเก็บความจำ และทำให้เกิดการเรียนรู้ สมองส่วนอีโมชั่นแนล หรือ ลิมบิกเบรนยังมีหน้าที่เกี่ยวกับ ภาษาอีกด้วย ซึ่งจะเกิดขึ้นก่อนที่เด็กทารกจะพูดได้ ด้วยซ้ำ หากไม่มีสมองส่วนนี้เราจะไม่สามารถเขียน หรือพูด หรือสื่อสารกับใครได้ เช่น เดียวกันกับ ถ้าเราไม่มีสมองส่วนใหม่ หรือสมองนีโอคอร์เท็กซ์ เราก็จะไม่สามารถคิดได้เลย แต่เดิมเราคิดว่าสมอง 2 ส่วนที่เก่าแก่ คือ อาร์เบรน กับ ลิมบิกเบรน ไม่มีประโยชน์ เป็นสิ่งที่หลงเหลือมาจากวิวัฒนาการ งานส่วนใหญ่ ของสมอง จะเกิดขึ้นที่สมองส่วนใหม่ นีโอคอร์เท็กซ์ แต่จากการวิจัยใหม่ ๆ ค้นพบสิ่งตรงกันข้ามว่า ประสบการณ์ในชีวิต ของเรามาจาก การทำงานของสมอง 2 ส่วนนี้ด้วย สมองของคนเราทำงานตลอดเวลา ไม่ว่าหลับ หรือตื่น แต่การทำงานในแต่ละส่วนจะแตกต่างกัน การทำงานของสมอง ขึ้นอยู่กับ เซลล์ประสาทที่มีอยู่เป็นจำนวนแสนล้านเซลล์ เซลล์ประสาทเหล่านี้ จะติดต่อพูดคุยกันโดยใช้ระบบสารเคมี และประจุไฟฟ้า เซลล์ประสาทตัวที่หนึ่งอาจจะยับยั้งการทำงานของเซลล์ประสาทตัวที่สอง ในขณะที่เซลล์ประสาทตัวที่สาม กลับกระตุ้นการทำงาน ของเซลล์ประสาทตัวที่สอง ไม่ว่าจะเป็นการกระตุ้น หรือการยับยั้ง จะทำให้เซลล์ประสาทส่งกระแสไฟฟ้าออกมา ผลลัพท์อาจจะเป็น การกระตุ้น หรือยับยั้งก็ได้</span></span></span></b> </p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: gray\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: gray\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: gray\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></b><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">จากการวิจัยพบว่า</span></strong><span style=\"font-size: 14pt; color: black\" lang=\"TH\"> </span><b><span style=\"color: gray\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">การทำงานของสมองจะทำงานกันเป็นกลุ่ม คือ เซลล์ประสาทจะมารวมกันเป็นกลุ่มแล้วทำหน้าที่หนึ่งอย่าง เซลล์ประสาทเหล่านี้จะติดต่อถึงกัน ทำให้เกิดการทำงาน มีกระแสไฟฟ้าอยู่ตลอดเวลา ถ้าหากการทำงาน และกระแสไฟฟ้านี้หยุดไป เซลล์ประสาทก็จะตาย และจุดเชื่อมต่อระหว่างเส้นใยประสาทของเซลล์ประสาท แต่ละเซลล์ที่ติดต่อถึงกันที่จะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูล และพลังงานกันก็จะตายไปด้วย สำหรับสมองส่วนที่เกี่ยวกับ ความคิด จะมีการจัดเรียงตัวของกลุ่มเซลล์ประสาทเป็นล้านล้านกลุ่มทีเดียว ซึ่งจะติดต่อถึงกันด้วยเส้นใยประสาท โดยเซลล์ประสาท 1 ตัวจะมีเส้นใยประสาทติดต่อกับเซลล์ประสาทอื่น หรือในกลุ่มอื่นเป็นหมื่น ๆ เส้นใยทีเดียว เนื่องจากมีการติดต่อ กลับไปกลับมาระหว่างเซลล์ประสาท และระหว่างกลุ่มเซลล์ประสาท ทำให้ไม่ว่าจะมีปฏิบัติการ อย่างใดอย่างหนึ่ง เกิดขึ้นก็สามารถมีผลต่อสมองทั้งสมองได้ กลไกการทำงานของสมองนี้เป็นไปตลอดเวลา เซลล์ประสาทแต่ละตัว จะทั้งรับข้อมูลเข้า และส่งข้อมูลออกในเวลาเดียวกัน ผลก็คือผลลัพท์จากการทำงาน หรือการโต้ตอบ ของเซลล์ประสาท ทั้งกลุ่มนั้น เซลล์ประสาทเปรียบเสมือน ทรานซิสเตอร์ หรือ หลอดวิทยุ ที่สามารถแสดงผลการทำงานที่เกิดขึ้นตลอดเวลา แม้ในยามหลับ หรือหมดสติ ข้อมูลที่เก็บไว้ในสมอง จะมีลักษณะเป็นคลื่นไฟฟ้าซึ่งมี ความถี่ที่มีรูปแบบ เฉพาะอยู่ในเซลล์ประสาท และเมื่อมีข้อมูลใหม่ ๆ เข้าไปในสมอง กระแสไฟฟ้าก็จะมีคลื่นความถี่ที่มีรูปแบบเฉพาะ หรือ รูปแบบใหม่ที่สมองยังไม่เคยได้รับมาก่อน สมองก็จะหาเซลล์ประสาท กลุ่มใหม่ และสร้างเส้นใยประสาท หรือการติดต่อใหม่ เพื่อที่จะจัดการเก็บข้อมูลใหม่ ๆ ไว้ในสมอง</span></span></b><span style=\"font-size: 9pt; color: #333333\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/41698\"><img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u18977/HOME.gif\" height=\"50\" /></a>\n</p>\n', created = 1716135909, expire = 1716222309, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d7e79950137e0ced0fed09996b00e49a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงสร้างสมอง 3 ส่วน

โครงสร้างสมอง 3 ส่วนที่อยู่ในกะโหลกศีรษะของเรา

   คือระบบประสาทสำคัญที่ได้วิวัฒนาการมาจากยุคดึกดำบรรพ์จนถึงปัจจุบัน เป็นสิ่ง ที่ได้รับ มาจากบรรพบุรุษ และเป็นสิ่งที่ทำให้เราสามารถประสบความสำเร็จในชีวิต อย่างไรก็ตาม ควรจำไว้ว่าสมองเรา ยังมีความสามารถ ที่ยังไม่ได้พัฒนา หรือยังมีโอกาสที่จะพัฒนาไปได้อีกมาก ประสบการณ์ หรือการกระทำของเรารวมถึงความรู้สึก นึกคิด พฤติกรรม กิจกรรม ทั้งหลาย การหลับ การตื่น ความฝัน ล้วนขึ้นอยู่กับสมองทั้ง 3 ส่วนนี้ทั้งสิ้น ระบบสมอง 3 ส่วนนี้แสดงให้เห็นว่า ธรรมชาติสามารถ สร้าง โครงสร้างใหม่ และโครงสร้างที่สลับซับซ้อนขึ้นบนพื้นฐานของ โครงสร้างเก่า ๆ ซึ่งเปรียบเสมือนเซลล์ง่าย ๆ ที่ได้ผสมผสานตัวเองเข้าไป ในสิ่งมีชีวิตที่มีหลายเซลล์ เป็นการเปลี่ยน หรือวิวัฒนาการจากสัตว์เซลล์เดียวเป็นสัตว์หลายเซลล์ เริ่มด้วย ระบบประสาทอาร์เบรน หรือเรปทิเลียนเบรน ที่มีหน้าที่ขั้นพื้นฐานที่ง่ายที่สุดเป็นการทำงานในเด็กเล็ก ๆ ซึ่งค่อย ๆ มีพัฒนาการตามมา สมองส่วนนี้ทำหน้าที่เกี่ยวกับ ประสาทสัมผัส และสั่งงานให้กล้ามเนื้อมีการเคลื่อนไหว นอกจากทำหน้าที่พื้นฐานง่าย ๆ แล้ว สมองส่วนนี้ยังรับ และเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ การเรียนรู้จากสมอง หรือระบบประสาทส่วนถัดไป และทำให้เกิดเป็นระบบอัตโนมัติขึ้น ทำให้เรามีปฏิกิริยาอย่างง่าย ๆ ปราศจากอารมณ์ ปราศจากเหตุผล เช่น สัญชาตญาณ การมีชีวิตอยู่เพื่อความอยู่รอด ความต้องการอาหาร ที่พักอาศัย หรือการมีเพศสัมพันธ์ในรูปแบบง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อนของสัตว์บางประเภท  

 สมองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสมัยเก่า หรือ สมองลิมบิกเบรน Limbic brain

   ระบบประสาท ส่วนถัดไปที่เรียกว่า ลิมบิกเบรน หรือ โอลด์แมมมาเลียนเบรน หรือสมองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสมัยเก่า สมองส่วนนี้จะอยู่ที่เทมโพราลโลบ หรือเป็นส่วนข้าง ๆ ของสมองใหญ่ ทั้งสองข้าง สมองส่วนนี้ได้รับการเรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า อีโมชั่นแนลเบรน (Emotional brain) หรือสมองที่เกี่ยวกับ อารมณ์ หรือ ลิมบิก เบรน ซึ่ง Limb มาจากคำว่า "โอบรอบ" คือ สมองส่วนนี้จะโอบรอบสมองส่วนที่เป็นอาร์เบรน หรือเรปทิเลียนเบรน สมองส่วนนี้จะทำให้ เราปรับตัวได้ดีขึ้น มีความฉลาดมากขึ้น และสามารถเรียนรู้โลกได้กว้างขึ้น ดังนั้นการที่มีสมองส่วนนี้จะเป็นการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจาก อาร์เบรน หรือ สมองส่วนที่เรียบง่าย มาเป็นสมองส่วนที่สลับซับซ้อนมากขึ้น มีความสามารถในการปรับตัว ปรับพฤติกรรมให้เข้ากับ สิ่งแวดล้อมได้มากขึ้น สมองส่วนนี้จะ เกี่ยวข้องกับความรู้สึก เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดี ไม่ดี โกรธ หรือมีความสุข เศร้า หรือสนุกสนาน รัก หรือเกลียด ถ้าหากว่า มีสิ่งกระตุ้น ที่ไม่ดีเข้ามา สมองส่วนนี้ก็แปลข้อมูลออกมา เป็นความเครียด หรือไม่มีความสุข หรือถ้าหากว่าเคยมีประสบการณ์ ที่เจ็บปวดมาก่อน ก็จะทำให้เกิดความรู้สึกไม่ชอบ เป็นต้น สมองส่วนนี้มีความเกี่ยวข้องกับ ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์ ระหว่างแม่กับลูก เด็กกับครอบครัว เด็กกับสังคม หรือระหว่างผู้หญิงกับผู้ชาย เกี่ยวข้องกับความฝัน วิสัยทัศน์ และความเพ้อฝัน

สมองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสมัยใหม่ หรือ นีโอคอร์เท็กซ์ (Neocortex)      สมองส่วนที่ 3 หรือ สมองส่วนที่ทำหน้าที่สูงสุดในบรรดาสมองทั้งหมด เรียกว่า นีโอคอร์เท็กซ์ แปลว่า สมองส่วนใหม่ (New brain) จะมีขนาดที่ใหญ่กว่าสมองอีก 2 ส่วนถึง 5 เท่าด้วยกัน สมองส่วนนี้จะเป็นที่รวมเกี่ยวกับ ความฉลาด ความคิดสร้างสรรค์ การคำนวณ ความรู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ความรักความเสน่หา สมองส่วนนี้จะทำให้เรารู้จักหาหนทางที่จะควบคุมสิ่งแวดล้อมในโลกนี้ สิ่งที่อยู่รอบตัวเรา และการมีอิทธิพลควบคุม คนอื่นด้วย นอกจากนั้นสมองส่วนนี้จะทำหน้าที่เกี่ยวกับ ความคิดทางด้านปรัชญา ศาสนา เป็นส่วนที่จะ ทำให้เห็นหนทางไปถึง จุดมุ่งหมายของมนุษยชน แต่อย่างไรก็ตาม สมองส่วนนี้ไม่สามารถที่จะทำงานได้ โดยปราศจาก สมองอีก 2 ส่วน คือ อาร์เบรน กับ ลิมบิกเบรน มาช่วยด้วย โดยสมองส่วนใหม่ หรือนีโอคอร์เท็กซ์ แบ่งแยกออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านขวา และด้านซ้าย แต่ละด้านจะมีหน้าที่เฉพาะเจาะจง มีเส้นใยประสาทที่เตรียมพร้อมสำหรับการเรียนรู้ และรับรู้ข้อมูลจากสมองอีก 2 ส่วน ในขณะที่มีการตอบสนองจากระบบอาร์เบรน ก็จะมี การป้อนข้อมูลนี้กลับเข้าไปในสมองส่วนใหม่ หรือนีโอคอร์เท็กซ์ด้วย ซึ่งทำให้เกิดการสร้างระบบประสาทขนานไป กับ ระบบประสาท ใน อาร์เบรน ถ้าหากไม่มี สมองนีโอคอร์เท็กซ์ การตอบสนองก็จะเป็นไป โดยอัตโนมัติ แต่เนื่องจากมีการควบคุมจากสมองส่วนใหม่ หรือ นีโอคอร์เท็กซ์ ทำให้การทำงานเป็นไปอย่างมีวัตถุประสงค์มากขึ้น มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น ถึงแม้ว่าสมอง 3 ส่วนจะทำงานประสานกัน แต่ในบางขณะเราสามารถที่จะเลือกใช้สมองส่วนใดส่วนหนึ่งมากกว่าส่วนอื่นได้ เช่น ในเรื่อง เพศสัมพันธ์ ระบบประสาทอาร์เบรนที่เกี่ยวข้องกับเพศสัมพันธ์จะทำงาน แต่จะเห็นได้ว่ามนุษย์เรามีรูปแบบการมี เพศสัมพันธ์ ที่ไม่เหมือน สัตว์ ซึ่งเป็นไปตามธรรมชาติอย่างง่าย ๆ เพศสัมพันธ์ของมนุษย์มีรูปแบบที่ซับซ้อนกว่า มีเรื่อง ของอารมณ์ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่น เรื่อง รัก ๆ ใคร่ ๆ แบบโรมิโอกับจูเลียต เป็นต้น ตรงนี้ต้องใช้สมองนีโอคอร์เท็กซ์เข้าไปเปลี่ยนรูปแบบ จากการสืบพันธุ์ง่าย ๆ แบบสัตว์ให้มี รูปแบบ ที่สลับซับซ้อนมากขึ้น อาร์เบรนยังเกี่ยวข้อง กับเรื่อง ของการใช้ภาษาด้วย พบว่า ทารกในครรภ์จะมีการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ บริเวณปากอย่างเฉพาะเจาะจง ในขณะที่ได้ยินเสียงของแม่พูด ต้องใช้สมองส่วนอาร์เบรน ทำงานสั่งให้กล้ามเนื้อตรงนั้นเคลื่อนไหว และเนื่องจากสมองส่วนอาร์เบรน อยู่บริเวณที่เรียกว่า เบรนสเต็ม (Brain Stem) หรือก้านสมอง ซึ่งจะเป็นประตูปิดเปิดการรับรู้กับโลกภายนอก ดังนั้นถ้าหาก ระบบสมองส่วนนี้เสียไป เราจะไม่สามารถรับรู้โลกภายนอกได้เลย สมองส่วนอาร์เบรนยังมีหน้าที่เกี่ยวกับ การหลับการตื่น ทำให้เรารู้สึกตัวอยู่ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าสมองอาร์เบรนสามารถที่จะตอบสนอง โดยตรงกับประสาทสัมผัสที่รับเข้ามา แต่ปฏิกิริยาส่วนใหญ่แล้วจะต้องผ่านสมองส่วนอีโมชั่นแนล หรือลิมบิกเบรน เพื่อที่จะจัดเก็บความจำ และทำให้เกิดการเรียนรู้ สมองส่วนอีโมชั่นแนล หรือ ลิมบิกเบรนยังมีหน้าที่เกี่ยวกับ ภาษาอีกด้วย ซึ่งจะเกิดขึ้นก่อนที่เด็กทารกจะพูดได้ ด้วยซ้ำ หากไม่มีสมองส่วนนี้เราจะไม่สามารถเขียน หรือพูด หรือสื่อสารกับใครได้ เช่น เดียวกันกับ ถ้าเราไม่มีสมองส่วนใหม่ หรือสมองนีโอคอร์เท็กซ์ เราก็จะไม่สามารถคิดได้เลย แต่เดิมเราคิดว่าสมอง 2 ส่วนที่เก่าแก่ คือ อาร์เบรน กับ ลิมบิกเบรน ไม่มีประโยชน์ เป็นสิ่งที่หลงเหลือมาจากวิวัฒนาการ งานส่วนใหญ่ ของสมอง จะเกิดขึ้นที่สมองส่วนใหม่ นีโอคอร์เท็กซ์ แต่จากการวิจัยใหม่ ๆ ค้นพบสิ่งตรงกันข้ามว่า ประสบการณ์ในชีวิต ของเรามาจาก การทำงานของสมอง 2 ส่วนนี้ด้วย สมองของคนเราทำงานตลอดเวลา ไม่ว่าหลับ หรือตื่น แต่การทำงานในแต่ละส่วนจะแตกต่างกัน การทำงานของสมอง ขึ้นอยู่กับ เซลล์ประสาทที่มีอยู่เป็นจำนวนแสนล้านเซลล์ เซลล์ประสาทเหล่านี้ จะติดต่อพูดคุยกันโดยใช้ระบบสารเคมี และประจุไฟฟ้า เซลล์ประสาทตัวที่หนึ่งอาจจะยับยั้งการทำงานของเซลล์ประสาทตัวที่สอง ในขณะที่เซลล์ประสาทตัวที่สาม กลับกระตุ้นการทำงาน ของเซลล์ประสาทตัวที่สอง ไม่ว่าจะเป็นการกระตุ้น หรือการยับยั้ง จะทำให้เซลล์ประสาทส่งกระแสไฟฟ้าออกมา ผลลัพท์อาจจะเป็น การกระตุ้น หรือยับยั้งก็ได้

จากการวิจัยพบว่า การทำงานของสมองจะทำงานกันเป็นกลุ่ม คือ เซลล์ประสาทจะมารวมกันเป็นกลุ่มแล้วทำหน้าที่หนึ่งอย่าง เซลล์ประสาทเหล่านี้จะติดต่อถึงกัน ทำให้เกิดการทำงาน มีกระแสไฟฟ้าอยู่ตลอดเวลา ถ้าหากการทำงาน และกระแสไฟฟ้านี้หยุดไป เซลล์ประสาทก็จะตาย และจุดเชื่อมต่อระหว่างเส้นใยประสาทของเซลล์ประสาท แต่ละเซลล์ที่ติดต่อถึงกันที่จะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูล และพลังงานกันก็จะตายไปด้วย สำหรับสมองส่วนที่เกี่ยวกับ ความคิด จะมีการจัดเรียงตัวของกลุ่มเซลล์ประสาทเป็นล้านล้านกลุ่มทีเดียว ซึ่งจะติดต่อถึงกันด้วยเส้นใยประสาท โดยเซลล์ประสาท 1 ตัวจะมีเส้นใยประสาทติดต่อกับเซลล์ประสาทอื่น หรือในกลุ่มอื่นเป็นหมื่น ๆ เส้นใยทีเดียว เนื่องจากมีการติดต่อ กลับไปกลับมาระหว่างเซลล์ประสาท และระหว่างกลุ่มเซลล์ประสาท ทำให้ไม่ว่าจะมีปฏิบัติการ อย่างใดอย่างหนึ่ง เกิดขึ้นก็สามารถมีผลต่อสมองทั้งสมองได้ กลไกการทำงานของสมองนี้เป็นไปตลอดเวลา เซลล์ประสาทแต่ละตัว จะทั้งรับข้อมูลเข้า และส่งข้อมูลออกในเวลาเดียวกัน ผลก็คือผลลัพท์จากการทำงาน หรือการโต้ตอบ ของเซลล์ประสาท ทั้งกลุ่มนั้น เซลล์ประสาทเปรียบเสมือน ทรานซิสเตอร์ หรือ หลอดวิทยุ ที่สามารถแสดงผลการทำงานที่เกิดขึ้นตลอดเวลา แม้ในยามหลับ หรือหมดสติ ข้อมูลที่เก็บไว้ในสมอง จะมีลักษณะเป็นคลื่นไฟฟ้าซึ่งมี ความถี่ที่มีรูปแบบ เฉพาะอยู่ในเซลล์ประสาท และเมื่อมีข้อมูลใหม่ ๆ เข้าไปในสมอง กระแสไฟฟ้าก็จะมีคลื่นความถี่ที่มีรูปแบบเฉพาะ หรือ รูปแบบใหม่ที่สมองยังไม่เคยได้รับมาก่อน สมองก็จะหาเซลล์ประสาท กลุ่มใหม่ และสร้างเส้นใยประสาท หรือการติดต่อใหม่ เพื่อที่จะจัดการเก็บข้อมูลใหม่ ๆ ไว้ในสมอง

 

สร้างโดย: 
น.ส.เพ็ญนภา ติษยางกูร และอาจารย์วิริยะ โภคาพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 215 คน กำลังออนไลน์