• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:76b27947e25baad79750c73dbd4fa2a2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #6afaee; color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19918/Untitled-13.gif\" height=\"165\" width=\"457\" /></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #6afaee; color: #3366ff\">ชื่อเรียก</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">๑. วันมหาวิปโยค </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">๒. วันมหาปิติ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">๓. การปฏิวัติ ๑๔ ตุลาคม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">๔. การปฏิวัติของนักศึกษา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #6afaee; color: #3366ff\"><strong>เวลาที่เกิดเหตุการณ์</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">วันที่ ๑๔–๑๖ ตุลาคม ๒๕๑๖</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #6afaee; color: #3366ff\"><strong> ชนวนของเหตุการณ์</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">เรียกร้องให้ปล่อยตัว ๑๓ ผู้เรียกร้องรัฐธรรมนูญที่ถูกจับกุมตัวในข้อหากบฏเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๖</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #6afaee; color: #3366ff\"><strong>เหตุการณ์ </strong></span>\n</p>\n<p>\n    <span style=\"color: #3366ff\">   เหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคมเป็นเหตุการณ์ต่อเนื่องจากการประท้วงคำสั่งลบชื่อนักศึกษารามคำแหงเก้าคน การประท้วงนี้ยังเสนอให้รัฐบาล ประกาศใช้รัฐธรรมนูญภายในเวลาหกเดือน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">      ก่อนหน้านี้ ประเทศไทยมีการปกครองภายใต้รัฐบาลทหารโดยไม่มีรัฐธรรมนูญ ในสมัยของรัฐบาล จอมพล ถนอม กิตติขจรก็มีเหตุการณ์ที่ค่อย ๆ สั่งสมให้ประชาชนเกิดความไม่พอใจรัฐบาล เช่น เมื่อนักการเมืองระดับสูงใช้ยุทโธปกรณ์ลาสัตว์ที่ทุ่งใหญ่ฯ เมื่อเดือนเมษายน ๒๕๑๖ และภาวะข้าวสาร ขาดแคลน ขณะที่บทบาททางการเมืองของนักศึกษาชัดเจนและเข้มแข็งขึ้น หลังจากที่ ประสบความสำเร็จ มาแล้วจาก การเป็นผู้นำสัปดาห์ต่อต้านสินค้าญี่ปุ่นเมื่อเดือนพฤศจิกายน ๒๕๑๕ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">      ในวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๑๖ นักศึกษาจัดให้มีการประท้วงในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เพื่อเรียกร้องให้ รัฐบาลปล่อยตัวผู้ถูกจับกุมทั้ง ๑๓ คน มีนักเรียนนิสิตนักศึกษาประชาชนมาร่วมชุมนุมเป็นจำนวนประมาณ ๕ แสนคน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">      เที่ยงตรงของวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๑๖ ฝูงชนเคลื่อนตัวออกจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สู่อนุสาวรีย์ ประชาธิปไตยและลานพระบรมรูปทรงม้า การเจรจาระหว่างนักศึกษากับฝ่ายรัฐบาลดำเนินไปจนถึง เวลาดึกของวันเดียวกัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">      การนองเลือดเริ่มต้นเวลาเช้ามืดของวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ เมื่อตำรวจคอมมานโดบุกเข้าตี นักศึกษาที่กำลังจะแยกย้ายกันกลับบ้านอยู่แล้ว ข่าวการทารุณของตำรวจคอมมานโดแพร่ไปทั่วกรุงเทพฯ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">      เหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคมสิ้นสุดลงเมื่อจอมพลถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร และพันเอก ณรงค์ กิตติขจร ( หรือตามที่เรียกกันในขณะนั้นว่า “สามทรราช” เดินทางออกนอกประเทศไปในที่สุด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #6afaee; color: #3366ff\"><strong>ผลจากเหตุการณ์</strong></span>\n</p>\n<p>\n     <span style=\"color: #3366ff\"> ประเทศไทยช่วงหลังเหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม เป็นช่วงที่กระแสประชาธิปไตยเบ่งบานที่สุดช่วงหนึ่ง ในประวัติศาสตร์ มีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ ๗๓ คน บาดเจ็บ ๘๕๗ คน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">      หลังเหตุการณ์ มีการแต่งตั้งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ร่างรัฐธรรมนูญที่มีความเป็นประชาธิปไตย มากที่สุด และจัดให้มีการเลือกตั้งครั้งใหม่ในเวลาต่อมา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">     ปัญหาสังคมที่สั่งสมมาเป็นเวลานานได้ระเบิดออกมาหลังเหตุการณ์ขบวนการนักศึกษาและ กระแสประชาธิปไตย แสดงพละกำลังอย่างชัดเจน มีการสไตรค์ของกรรมการบ่อยครั้ง และเกิดการรวมตัว ของชาวนาและเกษตรกรอย่างกว้างขวางและเป็นระบบทั่วประเทศ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">      ตามมาด้วยขบวนการของกลุ่มอำนาจฝ่ายขวาอย่างเช่น กลุ่มนวพลลูกเสือชาวบ้านและกระทิงแดง ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อใช้ความรุนแรงต่อต้านขบวนการนักศึกษาในลักษณะ “ขวาพิฆาตซ้าย” </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #6afaee; color: #3366ff\">คว</span><span style=\"background-color: #6afaee; color: #3366ff\">ามสำคัญของเหตุการณ์ </span></strong>\n</p>\n<p>\n  <span style=\"color: #3366ff\">    เป็นครั้งแรกที่ประชาชนคนไทยได้แสดง “พลังประชาชนและประชาธิปไตย” ซึ่งมีผลใน การเปลี่ยนแปลงทิศทางการเมืองและสังคมอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><strong><a href=\"/node/43268\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19918/428b9df0c7839695fb139e940453ca71_copy.jpg\" height=\"90\" width=\"60\" /></a></strong></span>\n</p>\n', created = 1715436431, expire = 1715522831, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:76b27947e25baad79750c73dbd4fa2a2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เหตุการณ์ 14 ตุลา

ชื่อเรียก

๑. วันมหาวิปโยค

๒. วันมหาปิติ

๓. การปฏิวัติ ๑๔ ตุลาคม

๔. การปฏิวัติของนักศึกษา

เวลาที่เกิดเหตุการณ์

วันที่ ๑๔–๑๖ ตุลาคม ๒๕๑๖

 ชนวนของเหตุการณ์

เรียกร้องให้ปล่อยตัว ๑๓ ผู้เรียกร้องรัฐธรรมนูญที่ถูกจับกุมตัวในข้อหากบฏเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๖

เหตุการณ์

       เหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคมเป็นเหตุการณ์ต่อเนื่องจากการประท้วงคำสั่งลบชื่อนักศึกษารามคำแหงเก้าคน การประท้วงนี้ยังเสนอให้รัฐบาล ประกาศใช้รัฐธรรมนูญภายในเวลาหกเดือน

      ก่อนหน้านี้ ประเทศไทยมีการปกครองภายใต้รัฐบาลทหารโดยไม่มีรัฐธรรมนูญ ในสมัยของรัฐบาล จอมพล ถนอม กิตติขจรก็มีเหตุการณ์ที่ค่อย ๆ สั่งสมให้ประชาชนเกิดความไม่พอใจรัฐบาล เช่น เมื่อนักการเมืองระดับสูงใช้ยุทโธปกรณ์ลาสัตว์ที่ทุ่งใหญ่ฯ เมื่อเดือนเมษายน ๒๕๑๖ และภาวะข้าวสาร ขาดแคลน ขณะที่บทบาททางการเมืองของนักศึกษาชัดเจนและเข้มแข็งขึ้น หลังจากที่ ประสบความสำเร็จ มาแล้วจาก การเป็นผู้นำสัปดาห์ต่อต้านสินค้าญี่ปุ่นเมื่อเดือนพฤศจิกายน ๒๕๑๕

      ในวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๑๖ นักศึกษาจัดให้มีการประท้วงในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เพื่อเรียกร้องให้ รัฐบาลปล่อยตัวผู้ถูกจับกุมทั้ง ๑๓ คน มีนักเรียนนิสิตนักศึกษาประชาชนมาร่วมชุมนุมเป็นจำนวนประมาณ ๕ แสนคน

      เที่ยงตรงของวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๑๖ ฝูงชนเคลื่อนตัวออกจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สู่อนุสาวรีย์ ประชาธิปไตยและลานพระบรมรูปทรงม้า การเจรจาระหว่างนักศึกษากับฝ่ายรัฐบาลดำเนินไปจนถึง เวลาดึกของวันเดียวกัน

      การนองเลือดเริ่มต้นเวลาเช้ามืดของวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ เมื่อตำรวจคอมมานโดบุกเข้าตี นักศึกษาที่กำลังจะแยกย้ายกันกลับบ้านอยู่แล้ว ข่าวการทารุณของตำรวจคอมมานโดแพร่ไปทั่วกรุงเทพฯ

      เหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคมสิ้นสุดลงเมื่อจอมพลถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร และพันเอก ณรงค์ กิตติขจร ( หรือตามที่เรียกกันในขณะนั้นว่า “สามทรราช” เดินทางออกนอกประเทศไปในที่สุด

ผลจากเหตุการณ์

      ประเทศไทยช่วงหลังเหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม เป็นช่วงที่กระแสประชาธิปไตยเบ่งบานที่สุดช่วงหนึ่ง ในประวัติศาสตร์ มีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ ๗๓ คน บาดเจ็บ ๘๕๗ คน

      หลังเหตุการณ์ มีการแต่งตั้งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ร่างรัฐธรรมนูญที่มีความเป็นประชาธิปไตย มากที่สุด และจัดให้มีการเลือกตั้งครั้งใหม่ในเวลาต่อมา

     ปัญหาสังคมที่สั่งสมมาเป็นเวลานานได้ระเบิดออกมาหลังเหตุการณ์ขบวนการนักศึกษาและ กระแสประชาธิปไตย แสดงพละกำลังอย่างชัดเจน มีการสไตรค์ของกรรมการบ่อยครั้ง และเกิดการรวมตัว ของชาวนาและเกษตรกรอย่างกว้างขวางและเป็นระบบทั่วประเทศ

      ตามมาด้วยขบวนการของกลุ่มอำนาจฝ่ายขวาอย่างเช่น กลุ่มนวพลลูกเสือชาวบ้านและกระทิงแดง ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อใช้ความรุนแรงต่อต้านขบวนการนักศึกษาในลักษณะ “ขวาพิฆาตซ้าย”

ความสำคัญของเหตุการณ์

      เป็นครั้งแรกที่ประชาชนคนไทยได้แสดง “พลังประชาชนและประชาธิปไตย” ซึ่งมีผลใน การเปลี่ยนแปลงทิศทางการเมืองและสังคมอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน

สร้างโดย: 
2N

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 337 คน กำลังออนไลน์