• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:aec063ddcef5ccb2f10f1f68be6647a7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #000080\">การบริจาคโลหิต</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20251/blood3.jpg\" height=\"241\" width=\"290\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #009f4f\"><a href=\"http://board.palungjit.com/f108/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%84-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%94-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B0-blood-donation-57544.html\">http://board.palungjit.com/f108/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%84-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%94-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B0-blood-donation-57544.html</a></span><a href=\"http://board.palungjit.com/f108/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%84-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%94-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B0-blood-donation-57544.html\"></a>\n</p>\n<p>\n       <strong><span style=\"color: #800000\">&quot;การบริจาคโลหิต&quot;</span></strong><span style=\"color: #000080\"> คือ การสละโลหิตส่วนเกินของร่างกายที่สามารถเจาะออกไปได้ โดยไม่มีผลกระทบหรือเป็นอันตรายต่อผู้บริจาค โดยทั่วไปคนเรามีปริมาณโลหิตในร่างกายประมาณ 70 ซีซี ต่อน้ำหนักตัวหนึ่งกิโลกรัม และเราสามารถทนต่อการเสียโลหิตได้โดยไม่มีอาการใดๆประมาณ 10-12 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาณโลหิตทั้งหมด นั่นคือ ถ้าน้ำหนักตัว 45-50 กิโลกรัม จะมีโลหิตในร่างกายประมาณ 3,200-3,500 ซีซี สามารถบริจาคได้ครั้งละ 350 ซีซี ถ้าน้ำหนักเกิน 50 กิโลกรัมขึ้นไป จะมีโลหิตในร่างกายประมาณ 3,500 ซีซีขึ้นไป สามารถบริจาคได้ 400-450 ซีซี และสามารถบริจาคโลหิตได้อย่างต่อเนื่อง 3-4 ครั้งต่อปี โดยได้รับธาตุเหล็กเสริม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       เม็ดโลหิตแต่ละชนิดจะมีอายุในกระแสโลหิตที่แตกต่างกัน คือ เม็ดโลหิตแดงมีอายุ 100-120 วัน เม็ดโลหิตขาวมีอายุ 13-20 วัน และเกล็ดโลหิตมีอายุ 9-10 วัน เม็ดโลหิตแดงที่หมดอายุแล้ว จะถูกขจัดออกไปด้วยระบบของร่างกาย โดยเซลล์ที่อยู่ในม้าม เมื่อเม็ดโลหิตเก่าทยอยถูกขจัดออกไป ในขณะเดียวกันไขกระดูกจะทยอยสร้างเซลล์เม็ดโลหิตใหม่ๆขึ้นมาทดแทน คนเราจึงมีเม็ดโลหิตที่มีคุณภาพอยู่ในกระแสโลหิตตลอดเวลา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #000080\"><strong>คุณสมบัติผู้บริจาคโลหิต</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">1.  มีน้ำหนัก 45 กิโลกรัมขึ้นไป   อายุระหว่าง 17 ปี ถึง 70 ปีบริบูรณ์ ( ถ้าเป็นผู้บริจาคครั้งแรกต้องอายุไม่เกิน 55 ปี) <br />\n2.  สุขภาพทั่วไปสมบูรณ์ดี  ไม่เป็นไข้หวัด เจ็บคอ ปวดศีรษะ ไม่มีภาวะเจ็บป่วยหรืออยู่ระหว่างรับประทานยาใดๆที่ใช้รักษาโรค โดยเฉพาะยาแก้อักเสบ<br />\nหรือยาปฏิชีวนะ ต้องหยุดยาแล้วอย่างน้อย 7 วัน<br />\n      2.1  ไม่มีประวัติโรคตับอักเสบ หรือดีซ่าน ตัวเหลือง ตาเหลือง<br />\n      2.2  ไม่เป็นไข้มาเลเรียมาในระยะ 3 ปี ที่ผ่านมา <br />\n      2.3  ไม่มีโรคประจำตัวที่เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อการบริจาคโลหิต เช่น  กามโรค โรคติดเชื้อต่าง ๆ ไอเรื้อรัง ไอมีโลหิต โลหิตออกง่ายผิดปกติ <br />\nหยุดยาก โรคเลือดชนิดต่าง ๆ โรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ โรคลมชัก โรคผิวหนังเรื้อรัง โรคหัวใจ โรคไต โรคเบาหวาน โรคไทรอยด์ มะเร็ง  หรือโรคอื่นๆ<br />\n      2.4  ไม่อยู่ในภาวะน้ำหนักลดมากในระยะสั้น<br />\n      2.5  ไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์ <br />\n      2.6  ไม่ทำการเจาะหู สัก  ลบรอยสัก ฝังเข็มในช่วงเวลา 1 ปีที่ผ่านมา<br />\n      2.7  ไม่มีประวัติติดยาเสพติด หรือเคยเป็นผู้ที่เสพยาเสพติดโดยใช้เข็มฉีดยา<br />\n      2.8  ไม่เป็นผู้ติดเชื้อเอดส์<br />\n      2.9  งดการบริจาคโลหิตภายหลังผ่าตัด (ถ้ามีการรับโลหิตต้องงดบริจาคโลหิต 1 ปี)<br />\n     2.10 สตรีไม่อยู่ในระหว่างมีประจำเดือน ตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร  และไม่มีการคลอดบุตร หรือแท้งบุตรภายใน  6 เดือนที่ผ่านมา</span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #000080\"><a href=\"/node/43045\" title=\"กลับหน้าหลัก\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20251/home.gif\" height=\"59\" width=\"50\" /></a></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #000080\"><strong>การเตรียมตัวก่อนบริจาคโลหิต</strong></span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20251/sleep.jpg\" height=\"194\" width=\"250\" />  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://learners.in.th/file/preechakul/29551.jpg\"><span style=\"color: #339966\">http://learners.in.th/file/preechakul/29551.jpg</span></a><span style=\"color: #000080\"> </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000080\">- นอนหลับให้เพียงพอในคืนก่อนวันบริจาค<br />\n- รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง และยาธาตุเหล็กเพิ่ม<br />\n- งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนบริจาค<br />\n- เพื่อป้องกันอาการแทรกซ้อน ควรหลีกเลี่ยงชา กาแฟ หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน<br />\n- งดสูบบุหรี่ ก่อนและหลังบริจาคโลหิต 1 ชั่วโมง เพื่อให้ปอดฟอกโลหิตได้ดี<br />\n- ดื่มน้ำ 3-4 แก้ว และเครื่องดื่มเหลวเพิ่ม เช่น น้ำผลไม้ นม น้ำหวาน เพื่อเพิ่มปริมาณโลหิตในร่างกาย <br />\n- รับประทานอาหารมื้อหลักก่อนมาบริจาคโลหิต โดยหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง เนื่องจากจะทำให้สีของพลาสมาผิดปกติเป็นสีขาวขุ่น <br />\nไม่สามารถนำไปใช้ได้  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #000080\"><strong>ขณะบริจาคโลหิต</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">- ทำตัวตามสบาย อย่ากลัว หรือวิตกกังวล<br />\n- สวมใส่เสื้อผ้าที่แขนเสื้อไม่คับเกินไป สามารถดึงขึ้นเหนือข้อศอกได้อย่างน้อย 3 นิ้ว<br />\n- ไม่ควรเคี้ยวหมากฝรั่ง หรืออมลูกอมขณะบริจาคโลหิต<br />\n- เลือกแขนข้างที่เส้นโลหิตดำใหญ่ชัดเจน ที่สามารถให้โลหิตไหลลงถุงได้ดี ผิวหนังบริเวณที่จะให้เจาะ ไม่มีผื่นคัน หรือรอยเขียวช้ำ <br />\nถ้าแพ้ยาทาฆ่าเชื้อ เช่น แอลกอฮอล์ ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ทราบล่วงหน้า<br />\n- ขณะบริจาคควรบีบลูกยางอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้โลหิตไหลได้สะดวก หากมีอาการผิดปกติ เช่น ใจสั่น วิงเวียน มีอาการคล้ายจะเป็นลม <br />\nอาการชา อาการเจ็บที่ผิดปกติ ต้องรีบแจ้งให้พยาบาลหรือเจ้าหน้าที่ในบริเวณนั้นทราบทันที<br />\n- หลังบริจาคโลหิตเสร็จเรียบร้อย ห้ามลุกทันที ให้นอนพักสักครู่จนกระทั่งรู้สึกสบายดี จึงลุกไปดื่มน้ำ และรับประทานอาหารว่างที่จัดไว้รับรอง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><strong>หลังบริจาคโลหิต</strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20251/water_1.jpg\" height=\"202\" width=\"150\" />           <img border=\"0\" src=\"/files/u20251/blood7.jpg\" height=\"201\" width=\"220\" /> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.phudis.com/th/images/stories/content/2009-03/water_1.jpg\"><span style=\"color: #339966\">http://www.phudis.com/th/images/stories/content/2009-03/water_1.jpg</span></a><span style=\"color: #339966\"> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.fm100cmu.com/uploads/20060724153957.jpg\"><span style=\"color: #339966\">http://www.fm100cmu.com/uploads/20060724153957.jpg</span></a><span style=\"color: #000080\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">- ดื่มน้ำมากกว่าปกติ เป็นเวลา 1-2 วัน<br />\n- หลีกเลี่ยงการทำซาวน่า หรือออกกำลังกายที่ต้องเสียเหงื่อมากๆ งดใช้กำลังแขนข้างที่เจาะ รวมถึงการหิ้วของหนักๆ เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ภายหลังการบริจาคโลหิต<br />\n- ถ้ามีอาการเวียนศีรษะคล้ายจะเป็นลม หรือรู้สึกผิดปกติ ให้รีบนั่งก้มศีรษะต่ำระหว่างเข่า หรือนอนราบยกเท้าสูงจนกระทั่งมีอาการปกติจึงลุกขึ้น และเดินทางกลับ ป้องกันอุบัติเหตุจากการล้ม<br />\n- ถ้ามีโลหิตซึมออกมาจากรอยผ้าปิดแผล อย่าตกใจ ให้ใช้นิ้วมืออีกด้านหนึ่งกดลงบนผ้าก๊อส กดให้แน่นและยกแขนสูงไว้ประมาณ 3-5 นาที หากยังไม่หยุดซึมให้กลับมายังสถานที่บริจาคโลหิตเพื่อพบแพทย์หรือพยาบาล<br />\n- ผู้บริจาคโลหิตที่ทำงานปีนป่ายที่สูง หรือทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล ควรหยุดพัก 1 วัน<br />\n- รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง และยาธาตุเหล็กที่ได้รับวันละอย่างน้อย 1 เม็ด จนหมด เพื่อป้องกันการขาดธาตุเหล็ก</span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n <a href=\"/node/43045\" title=\"กลับหน้าหลัก\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20251/home.gif\" height=\"59\" width=\"50\" /></a>\n</p>\n', created = 1715345953, expire = 1715432353, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:aec063ddcef5ccb2f10f1f68be6647a7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ba9ede25c9b89c6cdfdb7764db37427f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #000080\">การบริจาคโลหิต</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20251/blood3.jpg\" height=\"241\" width=\"290\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #009f4f\"><a href=\"http://board.palungjit.com/f108/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%84-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%94-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B0-blood-donation-57544.html\">http://board.palungjit.com/f108/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%84-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%94-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B0-blood-donation-57544.html</a></span><a href=\"http://board.palungjit.com/f108/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%84-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%94-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B0-blood-donation-57544.html\"></a>\n</p>\n<p>\n       <strong><span style=\"color: #800000\">&quot;การบริจาคโลหิต&quot;</span></strong><span style=\"color: #000080\"> คือ การสละโลหิตส่วนเกินของร่างกายที่สามารถเจาะออกไปได้ โดยไม่มีผลกระทบหรือเป็นอันตรายต่อผู้บริจาค โดยทั่วไปคนเรามีปริมาณโลหิตในร่างกายประมาณ 70 ซีซี ต่อน้ำหนักตัวหนึ่งกิโลกรัม และเราสามารถทนต่อการเสียโลหิตได้โดยไม่มีอาการใดๆประมาณ 10-12 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาณโลหิตทั้งหมด นั่นคือ ถ้าน้ำหนักตัว 45-50 กิโลกรัม จะมีโลหิตในร่างกายประมาณ 3,200-3,500 ซีซี สามารถบริจาคได้ครั้งละ 350 ซีซี ถ้าน้ำหนักเกิน 50 กิโลกรัมขึ้นไป จะมีโลหิตในร่างกายประมาณ 3,500 ซีซีขึ้นไป สามารถบริจาคได้ 400-450 ซีซี และสามารถบริจาคโลหิตได้อย่างต่อเนื่อง 3-4 ครั้งต่อปี โดยได้รับธาตุเหล็กเสริม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       เม็ดโลหิตแต่ละชนิดจะมีอายุในกระแสโลหิตที่แตกต่างกัน คือ เม็ดโลหิตแดงมีอายุ 100-120 วัน เม็ดโลหิตขาวมีอายุ 13-20 วัน และเกล็ดโลหิตมีอายุ 9-10 วัน เม็ดโลหิตแดงที่หมดอายุแล้ว จะถูกขจัดออกไปด้วยระบบของร่างกาย โดยเซลล์ที่อยู่ในม้าม เมื่อเม็ดโลหิตเก่าทยอยถูกขจัดออกไป ในขณะเดียวกันไขกระดูกจะทยอยสร้างเซลล์เม็ดโลหิตใหม่ๆขึ้นมาทดแทน คนเราจึงมีเม็ดโลหิตที่มีคุณภาพอยู่ในกระแสโลหิตตลอดเวลา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #000080\"><strong>คุณสมบัติผู้บริจาคโลหิต</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">1.  มีน้ำหนัก 45 กิโลกรัมขึ้นไป   อายุระหว่าง 17 ปี ถึง 70 ปีบริบูรณ์ ( ถ้าเป็นผู้บริจาคครั้งแรกต้องอายุไม่เกิน 55 ปี) <br />\n2.  สุขภาพทั่วไปสมบูรณ์ดี  ไม่เป็นไข้หวัด เจ็บคอ ปวดศีรษะ ไม่มีภาวะเจ็บป่วยหรืออยู่ระหว่างรับประทานยาใดๆที่ใช้รักษาโรค โดยเฉพาะยาแก้อักเสบ<br />\nหรือยาปฏิชีวนะ ต้องหยุดยาแล้วอย่างน้อย 7 วัน<br />\n      2.1  ไม่มีประวัติโรคตับอักเสบ หรือดีซ่าน ตัวเหลือง ตาเหลือง<br />\n      2.2  ไม่เป็นไข้มาเลเรียมาในระยะ 3 ปี ที่ผ่านมา <br />\n      2.3  ไม่มีโรคประจำตัวที่เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อการบริจาคโลหิต เช่น  กามโรค โรคติดเชื้อต่าง ๆ ไอเรื้อรัง ไอมีโลหิต โลหิตออกง่ายผิดปกติ <br />\nหยุดยาก โรคเลือดชนิดต่าง ๆ โรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ โรคลมชัก โรคผิวหนังเรื้อรัง โรคหัวใจ โรคไต โรคเบาหวาน โรคไทรอยด์ มะเร็ง  หรือโรคอื่นๆ<br />\n      2.4  ไม่อยู่ในภาวะน้ำหนักลดมากในระยะสั้น<br />\n      2.5  ไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์ <br />\n      2.6  ไม่ทำการเจาะหู สัก  ลบรอยสัก ฝังเข็มในช่วงเวลา 1 ปีที่ผ่านมา<br />\n      2.7  ไม่มีประวัติติดยาเสพติด หรือเคยเป็นผู้ที่เสพยาเสพติดโดยใช้เข็มฉีดยา<br />\n      2.8  ไม่เป็นผู้ติดเชื้อเอดส์<br />\n      2.9  งดการบริจาคโลหิตภายหลังผ่าตัด (ถ้ามีการรับโลหิตต้องงดบริจาคโลหิต 1 ปี)<br />\n     2.10 สตรีไม่อยู่ในระหว่างมีประจำเดือน ตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร  และไม่มีการคลอดบุตร หรือแท้งบุตรภายใน  6 เดือนที่ผ่านมา</span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #000080\"><a href=\"/node/43045\" title=\"กลับหน้าหลัก\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20251/home.gif\" height=\"59\" width=\"50\" /></a></span>\n</p>\n', created = 1715345953, expire = 1715432353, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ba9ede25c9b89c6cdfdb7764db37427f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การบริจาคโลหิต

การบริจาคโลหิต

http://board.palungjit.com/f108/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%84-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%94-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B0-blood-donation-57544.html

       "การบริจาคโลหิต" คือ การสละโลหิตส่วนเกินของร่างกายที่สามารถเจาะออกไปได้ โดยไม่มีผลกระทบหรือเป็นอันตรายต่อผู้บริจาค โดยทั่วไปคนเรามีปริมาณโลหิตในร่างกายประมาณ 70 ซีซี ต่อน้ำหนักตัวหนึ่งกิโลกรัม และเราสามารถทนต่อการเสียโลหิตได้โดยไม่มีอาการใดๆประมาณ 10-12 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาณโลหิตทั้งหมด นั่นคือ ถ้าน้ำหนักตัว 45-50 กิโลกรัม จะมีโลหิตในร่างกายประมาณ 3,200-3,500 ซีซี สามารถบริจาคได้ครั้งละ 350 ซีซี ถ้าน้ำหนักเกิน 50 กิโลกรัมขึ้นไป จะมีโลหิตในร่างกายประมาณ 3,500 ซีซีขึ้นไป สามารถบริจาคได้ 400-450 ซีซี และสามารถบริจาคโลหิตได้อย่างต่อเนื่อง 3-4 ครั้งต่อปี โดยได้รับธาตุเหล็กเสริม

       เม็ดโลหิตแต่ละชนิดจะมีอายุในกระแสโลหิตที่แตกต่างกัน คือ เม็ดโลหิตแดงมีอายุ 100-120 วัน เม็ดโลหิตขาวมีอายุ 13-20 วัน และเกล็ดโลหิตมีอายุ 9-10 วัน เม็ดโลหิตแดงที่หมดอายุแล้ว จะถูกขจัดออกไปด้วยระบบของร่างกาย โดยเซลล์ที่อยู่ในม้าม เมื่อเม็ดโลหิตเก่าทยอยถูกขจัดออกไป ในขณะเดียวกันไขกระดูกจะทยอยสร้างเซลล์เม็ดโลหิตใหม่ๆขึ้นมาทดแทน คนเราจึงมีเม็ดโลหิตที่มีคุณภาพอยู่ในกระแสโลหิตตลอดเวลา

 

คุณสมบัติผู้บริจาคโลหิต

1.  มีน้ำหนัก 45 กิโลกรัมขึ้นไป   อายุระหว่าง 17 ปี ถึง 70 ปีบริบูรณ์ ( ถ้าเป็นผู้บริจาคครั้งแรกต้องอายุไม่เกิน 55 ปี) 
2.  สุขภาพทั่วไปสมบูรณ์ดี  ไม่เป็นไข้หวัด เจ็บคอ ปวดศีรษะ ไม่มีภาวะเจ็บป่วยหรืออยู่ระหว่างรับประทานยาใดๆที่ใช้รักษาโรค โดยเฉพาะยาแก้อักเสบ
หรือยาปฏิชีวนะ ต้องหยุดยาแล้วอย่างน้อย 7 วัน
      2.1  ไม่มีประวัติโรคตับอักเสบ หรือดีซ่าน ตัวเหลือง ตาเหลือง
      2.2  ไม่เป็นไข้มาเลเรียมาในระยะ 3 ปี ที่ผ่านมา
      2.3  ไม่มีโรคประจำตัวที่เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อการบริจาคโลหิต เช่น  กามโรค โรคติดเชื้อต่าง ๆ ไอเรื้อรัง ไอมีโลหิต โลหิตออกง่ายผิดปกติ
หยุดยาก โรคเลือดชนิดต่าง ๆ โรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ โรคลมชัก โรคผิวหนังเรื้อรัง โรคหัวใจ โรคไต โรคเบาหวาน โรคไทรอยด์ มะเร็ง  หรือโรคอื่นๆ
      2.4  ไม่อยู่ในภาวะน้ำหนักลดมากในระยะสั้น
      2.5  ไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์
      2.6  ไม่ทำการเจาะหู สัก  ลบรอยสัก ฝังเข็มในช่วงเวลา 1 ปีที่ผ่านมา
      2.7  ไม่มีประวัติติดยาเสพติด หรือเคยเป็นผู้ที่เสพยาเสพติดโดยใช้เข็มฉีดยา
      2.8  ไม่เป็นผู้ติดเชื้อเอดส์
      2.9  งดการบริจาคโลหิตภายหลังผ่าตัด (ถ้ามีการรับโลหิตต้องงดบริจาคโลหิต 1 ปี)
     2.10 สตรีไม่อยู่ในระหว่างมีประจำเดือน ตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร  และไม่มีการคลอดบุตร หรือแท้งบุตรภายใน  6 เดือนที่ผ่านมา

สร้างโดย: 
นส.อุณานุศร์ ศรีสมัยเจริญ และคุณครูพรรณนภา กำบัง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 328 คน กำลังออนไลน์