• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ปีนักบุญเปาโล', 'node/17611', '', '18.188.216.249', 0, '4fb9e512a670282b1ebb6a707a919161', 137, 1717408687) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2b6a0d40c0c7b62bfbc06921e0248bf1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #000080\">หมู่โลหิตระบบ Rh</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20251/Rh.jpg\" style=\"width: 173px; height: 180px\" height=\"200\" width=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://school.obec.go.th/uts_s/webpages/bio/blood_group/contents/07.html\">http://school.obec.go.th/uts_s/webpages/bio/blood_group/contents/07.html</a><br />\n     \n</p>\n<p>\n       <span style=\"color: #000080\">การค้นพบหมู่โลหิตระบบ Rh นั้น ในปี ค.ศ.1939 มีนักวิทยาศาสตร์ 2 คนชื่อ เลอวิน และ ลีเวน เวล สเต็ดสัน ได้พบว่าหลังจากที่ทำการถ่ายโลหิตให้สตรีผู้หนึ่งซึ่งเสียโลหิตจากการคลอดบุตรที่ตายในครรภ์ จากการศึกษาในห้องปฏิบัติการพบว่าโลหิตในตัวลูกมีปฏิกิริยากับเม็ดโลหิตแดงของแม่ ทำให้เม็ดโลหิตแดงแตกในตอนนั้นเข้าใจว่าในตัวสตรีผู้นั้นได้รับสารชนิดหนึ่งซึ่งมีลักษณะต่างจากเม็ดโลหิตแดงของลูกซึ่งถ่ายจากพ่อ ต่อมาในปี ค.ศ.1940 มีนักวิทยาศาสตร์อีก 2 คนชื่อ คาร์ล แลนด์ สไตเนอร์ ร่วมกับอเล็กซานเดอร์ วินเนอร์ ทำการทดลองฉีดเม็ดโลหิตแดงของลิงเข้าไปในกระต่าย และหนู พบว่าน้ำเหลืองของกระต่ายทำปฏิกิริยากับเม็ดโลหิตแดงของลิง และยังทำปฏิกิริยากับเม็ดโลหิตแดงของคนอีก 84 % ต่อมาภายหลังได้พบปรากฏการณ์เช่นนี้ในคน 3 คน ที่ได้รับโลหิตหมู่ ABO ที่ตรงกัน ซึ่งเชื่อว่าเกิดจากโลหิตหมู่พิเศษ นอกเหนือไปจากหมู่โลหิต ABO จึงได้ตั้งชื่อ &quot;หมูโลหิตนี้ว่า อาร์เอช (Rh)&quot; </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><strong>การจำแนกหมู่โลหิตระบบ Rh</strong> <br />\n       การจำแนกหมู่โลหิตระบบ Rh จะจำแนกโดยสังเกตจากสารโปรตีนที่ฉาบอยู่บนผิวของเม็ดโลหิตแดง ซึ่งเรียกว่า สารโปรตีน ดี (Antigen-D) ซึ่งโปรตีนชนิดนี้ใช้เป็นตัวบ่งบอก หมู่โลหิตระบบ Rh แบ่งออกเป็น 2 หมู่ คือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">1. หมู่โลหิต Rh บวก (Rh positive) คือ หมู่โลหิตที่มีสารโปรตีน ดี (Antigen-D) อยู่ที่ผิวของเม็ดโลหิตแดง ในคนไทยมีหมู่โลหิต Rh บวก ประมาณ 99.7 % ซึ่งหมู่โลหิต Rh บวกนี้ เราเรียกง่าย ๆ ว่า “หมู่โลหิตธรรมดา” </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"> 2. หมู่โลหิต Rh ลบ (Rh negative) คือหมู่โลหิตที่ไม่มีสารโปรตีน ดี (Antigen-D) อยู่ที่ผิวของเม็ดโลหิตแดง ในคนไทยพบว่ามีหมู่โลหิตนี้เพียง 0.3 % หรือ 1,000 คน จะพบเพียง 3 คนเท่านั้น ซึ่งเราเรียกง่าย ๆ ว่า “หมู่โลหิตหายาก” หรือ “หมู่โลหิตพิเศษ” (Rh negative) นั่นเอง</span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n <a href=\"/node/43045\" title=\"กลับหน้าหลัก\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20251/home.gif\" height=\"59\" width=\"50\" /></a>\n</p>\n', created = 1717408707, expire = 1717495107, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2b6a0d40c0c7b62bfbc06921e0248bf1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หมู่โลหิตระบบ Rh

หมู่โลหิตระบบ Rh

http://school.obec.go.th/uts_s/webpages/bio/blood_group/contents/07.html
     

       การค้นพบหมู่โลหิตระบบ Rh นั้น ในปี ค.ศ.1939 มีนักวิทยาศาสตร์ 2 คนชื่อ เลอวิน และ ลีเวน เวล สเต็ดสัน ได้พบว่าหลังจากที่ทำการถ่ายโลหิตให้สตรีผู้หนึ่งซึ่งเสียโลหิตจากการคลอดบุตรที่ตายในครรภ์ จากการศึกษาในห้องปฏิบัติการพบว่าโลหิตในตัวลูกมีปฏิกิริยากับเม็ดโลหิตแดงของแม่ ทำให้เม็ดโลหิตแดงแตกในตอนนั้นเข้าใจว่าในตัวสตรีผู้นั้นได้รับสารชนิดหนึ่งซึ่งมีลักษณะต่างจากเม็ดโลหิตแดงของลูกซึ่งถ่ายจากพ่อ ต่อมาในปี ค.ศ.1940 มีนักวิทยาศาสตร์อีก 2 คนชื่อ คาร์ล แลนด์ สไตเนอร์ ร่วมกับอเล็กซานเดอร์ วินเนอร์ ทำการทดลองฉีดเม็ดโลหิตแดงของลิงเข้าไปในกระต่าย และหนู พบว่าน้ำเหลืองของกระต่ายทำปฏิกิริยากับเม็ดโลหิตแดงของลิง และยังทำปฏิกิริยากับเม็ดโลหิตแดงของคนอีก 84 % ต่อมาภายหลังได้พบปรากฏการณ์เช่นนี้ในคน 3 คน ที่ได้รับโลหิตหมู่ ABO ที่ตรงกัน ซึ่งเชื่อว่าเกิดจากโลหิตหมู่พิเศษ นอกเหนือไปจากหมู่โลหิต ABO จึงได้ตั้งชื่อ "หมูโลหิตนี้ว่า อาร์เอช (Rh)"

การจำแนกหมู่โลหิตระบบ Rh
       การจำแนกหมู่โลหิตระบบ Rh จะจำแนกโดยสังเกตจากสารโปรตีนที่ฉาบอยู่บนผิวของเม็ดโลหิตแดง ซึ่งเรียกว่า สารโปรตีน ดี (Antigen-D) ซึ่งโปรตีนชนิดนี้ใช้เป็นตัวบ่งบอก หมู่โลหิตระบบ Rh แบ่งออกเป็น 2 หมู่ คือ

1. หมู่โลหิต Rh บวก (Rh positive) คือ หมู่โลหิตที่มีสารโปรตีน ดี (Antigen-D) อยู่ที่ผิวของเม็ดโลหิตแดง ในคนไทยมีหมู่โลหิต Rh บวก ประมาณ 99.7 % ซึ่งหมู่โลหิต Rh บวกนี้ เราเรียกง่าย ๆ ว่า “หมู่โลหิตธรรมดา”

 2. หมู่โลหิต Rh ลบ (Rh negative) คือหมู่โลหิตที่ไม่มีสารโปรตีน ดี (Antigen-D) อยู่ที่ผิวของเม็ดโลหิตแดง ในคนไทยพบว่ามีหมู่โลหิตนี้เพียง 0.3 % หรือ 1,000 คน จะพบเพียง 3 คนเท่านั้น ซึ่งเราเรียกง่าย ๆ ว่า “หมู่โลหิตหายาก” หรือ “หมู่โลหิตพิเศษ” (Rh negative) นั่นเอง

 

สร้างโดย: 
นส.อุณานุศร์ ศรีสมัยเจริญ และคุณครูพรรณนภา กำบัง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 725 คน กำลังออนไลน์