• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8040f475b1d11ce7186a531af82626ec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:g5YPvk_Ndka0oM:http://ecurriculum.mv.ac.th/library2/gerneral/nanasara/im-noni.jpg\" height=\"115\" width=\"102\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:r8XFTir3EdBQrM:http://www.vcharkarn.com/uploads/154/154856.jpeg\" height=\"113\" width=\"120\" /><img border=\"0\" src=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:N7VBd0DQ3ELrUM:http://www.uru.ac.th/~botany/images/7-53000-001-0172(1).jpg\" style=\"width: 108px; height: 113px\" height=\"130\" width=\"108\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nใบยอ <br />\n \n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางยา\n</p>\n<p>\nที่ใช้เป็นยา คือ ราก ใบ ผล ต้น ดอก และสรรพคุณในตำรายาไทย<br />\n1. ราก สรรพคุณเป็นยาระบาย แก้ท้องผูก<br />\n2. ใบยอ รสขมเฝื่อน สรรพคุณบำรุงธาตุ แก้ไข้ ฆ่าเหา ปวดข้อ คั้นน้ำทา แก้โรคเกาต์ แก้ท้องร่วงในเด็ก แก้เหงือกบวม คั้นน้ำทาแก้แผลเรื้อรัง แก้กษัย ผสมยาอื่นแก้วัณโรค<br />\n3. ผลดิบหรือแก่ รสเผ็ดร้อน สรรพคุณขับลม บำรุงธาตุ เจริญอาหาร ขับโลหิต ระดูของสตรี ฟอกเลือด แก้คลื่นเหียนอาเจียน ผสมยาแก้สะอึก อมแก้เหงือกเปื่อย แก้เสียงแหบแห้ง แก้ร้อนในอก<br />\n4. ผลสุก ของยาบ้าน มีกลิ่นฉุน สรรพคุณผายลมในลำไส้ ต้น ใช้เป็นส่วนผสมกับสมุนไพรอื่นเป็นยารักษาวัณ 5. โรค ดอก เป็นส่วนผสมของสมุนไพรตัวอื่นเป็นยารักษาวัณโรค\n</p>\n<p>\nขนาดและวิธีใช้<br />\n1. แก้อาการคลื่นไส้อาเจียน ใช้ผลดิบแก่ฝานเป็นชิ้นบางๆ ย่างไฟให้เหลือง ต้มหรือชงดื่ม ใช้ครั้งละประมาณ 2 กำมือ (10-15 กรัม) เอาน้ำที่ได้จิบทีละน้อยและบ่อยๆ ครั้งจึงจะได้ผลดี<br />\n2. แก้ปวดบวม อักเสบ โรคเกาต์ ใช้ใบสดย่างไฟ หรือปรุงยาประคบ<br />\n3. แก้ปวดข้อนิ้วมือนิ้วเท้า ใช้ใบคั้นเอาแต่น้ำ ทาที่ปวด<br />\n4. ฆ่าเหา ใช้ใบสดคั้นเอาน้ำ สระผม<br />\n5. แก้เหงือกเปื่อย เป็นขุมบวม ใช้ผลดิบเผาเป็นถ่านผสมเกลือเล็กน้อย อม<br />\n6. ขับโลหิตระดู ขับผายลม ขับเลือดลม ใช้ผลดิบต้มเอาน้ำดื่ม<br />\n7. แก้คลื่นเหียนอาเจียน ใช้ผลดิบหั่นปิ้งไฟหรือตากแห้ง คั่วแล้วนำไปต้มเอาน้ำดื่ม\n</p>\n<p>\nประโยชน์ทางอาหาร\n</p>\n<p>\nส่วนที่ใช้เป็นผัก คือ ใบอ่อนและห่ามของยอใช้เป็นผักได้\n</p>\n<p>\nคุณค่าทางโภชนาการ ใบยอ 100 กรัม ให้พลังงานต่อร่างกาย 73 กิโลแคลอรี ประกอบด้วยน้ำ 77.3 กรัม คาร์โบไฮเดรต 10.5 กรัม โปรตีน 5.0 กรัม ไขมัน 2.2 กรัม กาก 4 กรัม แคลเซียม 469 มิลลิกรัม เหล็ก 1.4 มิลลิกรัม วิตามินเอ 43333 IU วิตามินบีหนึ่ง 0.30 มิลลิกรัม วิตามินบีสอง 0.14 มิลลิกรัม ไนอาซีน 7.2 มิลลิกรัม วิตามินซี 3 มิลลิกรัม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/46721\">กลับหน้าหลัก</a> <br />\n \n</p>\n', created = 1722041425, expire = 1722127825, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8040f475b1d11ce7186a531af82626ec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ใบยอ

 

 

 

 

 

 

 

ใบยอ
 

ประโยชน์ทางยา

ที่ใช้เป็นยา คือ ราก ใบ ผล ต้น ดอก และสรรพคุณในตำรายาไทย
1. ราก สรรพคุณเป็นยาระบาย แก้ท้องผูก
2. ใบยอ รสขมเฝื่อน สรรพคุณบำรุงธาตุ แก้ไข้ ฆ่าเหา ปวดข้อ คั้นน้ำทา แก้โรคเกาต์ แก้ท้องร่วงในเด็ก แก้เหงือกบวม คั้นน้ำทาแก้แผลเรื้อรัง แก้กษัย ผสมยาอื่นแก้วัณโรค
3. ผลดิบหรือแก่ รสเผ็ดร้อน สรรพคุณขับลม บำรุงธาตุ เจริญอาหาร ขับโลหิต ระดูของสตรี ฟอกเลือด แก้คลื่นเหียนอาเจียน ผสมยาแก้สะอึก อมแก้เหงือกเปื่อย แก้เสียงแหบแห้ง แก้ร้อนในอก
4. ผลสุก ของยาบ้าน มีกลิ่นฉุน สรรพคุณผายลมในลำไส้ ต้น ใช้เป็นส่วนผสมกับสมุนไพรอื่นเป็นยารักษาวัณ 5. โรค ดอก เป็นส่วนผสมของสมุนไพรตัวอื่นเป็นยารักษาวัณโรค

ขนาดและวิธีใช้
1. แก้อาการคลื่นไส้อาเจียน ใช้ผลดิบแก่ฝานเป็นชิ้นบางๆ ย่างไฟให้เหลือง ต้มหรือชงดื่ม ใช้ครั้งละประมาณ 2 กำมือ (10-15 กรัม) เอาน้ำที่ได้จิบทีละน้อยและบ่อยๆ ครั้งจึงจะได้ผลดี
2. แก้ปวดบวม อักเสบ โรคเกาต์ ใช้ใบสดย่างไฟ หรือปรุงยาประคบ
3. แก้ปวดข้อนิ้วมือนิ้วเท้า ใช้ใบคั้นเอาแต่น้ำ ทาที่ปวด
4. ฆ่าเหา ใช้ใบสดคั้นเอาน้ำ สระผม
5. แก้เหงือกเปื่อย เป็นขุมบวม ใช้ผลดิบเผาเป็นถ่านผสมเกลือเล็กน้อย อม
6. ขับโลหิตระดู ขับผายลม ขับเลือดลม ใช้ผลดิบต้มเอาน้ำดื่ม
7. แก้คลื่นเหียนอาเจียน ใช้ผลดิบหั่นปิ้งไฟหรือตากแห้ง คั่วแล้วนำไปต้มเอาน้ำดื่ม

ประโยชน์ทางอาหาร

ส่วนที่ใช้เป็นผัก คือ ใบอ่อนและห่ามของยอใช้เป็นผักได้

คุณค่าทางโภชนาการ ใบยอ 100 กรัม ให้พลังงานต่อร่างกาย 73 กิโลแคลอรี ประกอบด้วยน้ำ 77.3 กรัม คาร์โบไฮเดรต 10.5 กรัม โปรตีน 5.0 กรัม ไขมัน 2.2 กรัม กาก 4 กรัม แคลเซียม 469 มิลลิกรัม เหล็ก 1.4 มิลลิกรัม วิตามินเอ 43333 IU วิตามินบีหนึ่ง 0.30 มิลลิกรัม วิตามินบีสอง 0.14 มิลลิกรัม ไนอาซีน 7.2 มิลลิกรัม วิตามินซี 3 มิลลิกรัม

 

 

กลับหน้าหลัก 
 

สร้างโดย: 
pim

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 313 คน กำลังออนไลน์