• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:05a00089ecd5cc39b03afd7bb4fb40b2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<b><span style=\"text-decoration: underline\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"color: #993300\" class=\"Apple-style-span\">การดำเนินการด้านการปกครอง</span></span></b>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ยังคงใช้แบบอย่างการปกครองเช่นเดียวกับสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอยุธยา กล่าวคือ พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจสูงสุดและเด็ดขาดในการปกครองประเทศ</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span><b><span style=\"color: #808000\">1) การแบ่งเขตการปกครอง</span></b> <span style=\"color: #008000\">แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่</span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #808000\"><b>1.1) </b></span><span class=\"Apple-style-span\"><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"text-decoration: underline\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"color: #808000\"><b>การปกครองส่วนกลาง</b></span></span> <span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">การแบ่งส่วนราชการ</span><span style=\"color: #333333\" class=\"Apple-style-span\"> </span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #333333\" class=\"Apple-style-span\"><img width=\"450\" src=\"/files/u18659/goverment1.jpg\" height=\"362\" /></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\">            ที่มาของรูปภาพ : </span><a href=\"http://www.bunnag.in.th/images/history/017.gif\"><span style=\"color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\">http://www.bunnag.in.th/images/history/017.gif</span></a><span style=\"color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\">                    </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> </span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">สมุหพระกลาโหม มียศและราชทินนามว่า เจ้าพระยามหาเสนา ใช้ตราคชสีห์เป็นตราประจำตำแหน่งมีอำนาจบังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งด้านการทหารและพลเรือน </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          สมุหนายก ราชทินนามไม่ทรงกำหนดแน่นอน ที่ใช้อยู่ก็มี เจ้าพระยาจักรี บดินทร์เดชานุชิต รัตนาพิพิธ ฯลฯ ใช้ตราราชสีห์เป็นตราประจำตำแหน่ง มีอำนาจบังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือทั้งห้านการทหารและพลเรือน  </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          <span style=\"color: #808000\"><b><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"text-decoration: underline\" class=\"Apple-style-span\">จตุสดมภ์</span></span></b> </span>มีดังนี้</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          <span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">(1) กรม</span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">เวียง</span> หรือ </span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">กรมเมือง</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> เสนาบดี คือ เจ้าพระยายมราช มีตราพระยมทรงสิงห์เป็นตราประจำตำแหน่ง มีหน้าที่ดูแลกิจการทั่วไปในพระนคร</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          </span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">(2) </span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">กรมวัง</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> เสนาบดี คือ พระยาธรรมา ใช้ตราเทพยดาทรงพระนนทิกร (พระโค) เป็นตราประจำ ตำแหน่ง มีหน้าที่ดูแลพระราชวังและตั้งศาลชำระความ</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">         </span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\"> (3) </span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">กรมคลัง</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> หรือ </span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">กรมท่า</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> ใช้ตราบัวแก้วเป็นตราประจำตำแหน่ง มีเสนาบดีดำรงตำแหน่งตามหน้าที่รับผิดชอบ คือ </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">               - ฝ่ายการเงิน ตำแหน่งเสนาบดี คือ พระยาราชภักดี</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">               - ฝ่ายการต่างประเทศ ตำแหน่งเสนาบดี คือ พระยาศรีพิพัฒน์</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">               - ฝ่ายตรวจบัญชีและดูแลหัวเมืองชายทะเลตะวันออก ตำแหน่งเสนาบดี คือ พระยาพระคลัง</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          </span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">(4) </span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">กรมนา</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> เสนาบดีมีตำแหน่ง พระนาพลเทพ ใช้ตราพระพิรุณทรงนาค เป็นตราประจำตำแหน่งมีหน้าดูแลที่นาหลวง เก็บภาษีข้าว และพิจารณาคดีความเกี่ยวกับที่นา</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          <span style=\"color: #808000\"><b>1.2) </b></span></span><span style=\"color: #808000\"><b>การปกครองส่วนภูมิภาค</b></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          การปกครองหัวเมือง คือ การบริหารราชการแผ่นดินในหัวเมืองรอบนอกที่อยู่ห่างไดลกรุงเทพฯ หัวเมืองเหล่านี้จัดแบ่งเป็นหัวเมืองเอก โท ตรี จัตวา ตามความสำคัญทางยุทธศาสตร์และความหนาแน่นของพลเมือง มีเสนาบดีเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบทั้งในด้านการทหาร และพลเรือน ตลอดจนเศรษฐกิจและกิจการรักษาความยุติธรรม ดังนี้</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          (1) สมุหนายก รับผิดชอบหัวเมืองเหนือ และหัวเมืองอีสานทั้งหมด</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          (2) สมุหกลาโหม รับผิดชอบหัวเมืองใต้ทั้งหมด ตั้งแต่เพชรบุรีลงไป</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          (3) เสนาบดีกรมพระคลัง รับผิดชอบหัวเมืองชายทะเลตันออกทั้งหมด (มี 9 เมือง ได้แก่ นนทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สาครบุรี ชลบุรี บางละมุง ระยอง จันทบุรี และตราด)</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          การแต่งตั้งเจ้าเมือง เมืองเอก พระมหากษัตริญ์ทรงแต่งตั้งเอง</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">                                  เมืองโท ตรี และจัตวา เสนาบดีผู้รับผิดชอบเป็นผู้แต่งตั้ง</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #ff0000\" class=\"Apple-style-span\">หมายเหตุ</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> เมืองเอก ได้แก่ พิษณุโลก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ถลาวง และสงขลา</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">         <b><span style=\"color: #808000\"> 1.3) </span></b></span><b><span style=\"color: #808000\">การปกครองประเทศราช</span></b></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> ประเทศราชของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้แก่ </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          </span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">(1) ล้านนาไทย</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> (เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงแสน)</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          </span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">(2) ลาว</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> (หลวงพระบาง เวียงจันทน์ จำปางศักดิ์)</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          </span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">(3) เขมร</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          </span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">(4) หัวเมืองมลายู</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> (ปัตตานี ไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู)</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          ประเทศราชเหล่านี้มีเจ้าเป็นผู้ปกครองกันเอง ความผูกพันที่มีต่อกรุงเทพฯ คือ การส่งเครื่องราชบรรณาการต้นไม้ทองตามกำหนดเวลา และช่วยราชการทหารตามแต่กรุงเทพฯ จะมีใบบอกแจ้งไปภารกิจของกรุงเทพฯ คือ ปกป้องดูแลมิให้ศึกศัตรูโจมตีประเทษราชเหล่านี้ </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"><b><u><span style=\"color: #808000\">2) การชำระแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย</span></u></b></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"491\" src=\"/files/u18659/law2.jpg\" height=\"211\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\">ที่มาของรูปภาพ : </span><a href=\"http://www.sainampeung.ac.th/chalengsak/images/unit4/chapter4/chapter4_1/r1/3law.JPG\"><span style=\"color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\">http://www.sainampeung.ac.th/chalengsak/images/unit4/chapter4/chapter4_1/r1/3law.JPG</span></a><span style=\"color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\"> </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          </span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงรวบรวมและชำระกฎหมายเก่า แล้วโปรดเกล้าฯ ให้อาลักษณ์คัดลอกไว้ 3 ฉบับท ทุกฉบับปีทับตราคชสีห์ ราชสีห์ และบัวแก้ว ซึ่งเป็นตราประจำตำแหน่งสมุหกลาโหม สมุหนายก และพระยาพระคลัง กฎหมายฉบับนี้จึงมีชื่อเรียกว่า กฎหมายตราสามดวง หรือประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1 ได้ใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศมาจนถึงรัชกาลที่ 5</span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"text-decoration: underline\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"color: #993300\" class=\"Apple-style-span\"></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"><a href=\"/node/43476\"><img border=\"0\" align=\"right\" width=\"200\" src=\"/files/u18659/2.gif\" height=\"144\" style=\"width: 106px; height: 75px\" /></a></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #008000\">          </span> \n</div>\n', created = 1715584855, expire = 1715671255, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:05a00089ecd5cc39b03afd7bb4fb40b2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การดำเนินการด้านการปกครอง

รูปภาพของ p_pun_p
การดำเนินการด้านการปกครอง
          พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ยังคงใช้แบบอย่างการปกครองเช่นเดียวกับสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอยุธยา กล่าวคือ พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจสูงสุดและเด็ดขาดในการปกครองประเทศ
1) การแบ่งเขตการปกครอง แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่
1.1) การปกครองส่วนกลาง การแบ่งส่วนราชการ
            ที่มาของรูปภาพ : http://www.bunnag.in.th/images/history/017.gif                    
 สมุหพระกลาโหม มียศและราชทินนามว่า เจ้าพระยามหาเสนา ใช้ตราคชสีห์เป็นตราประจำตำแหน่งมีอำนาจบังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งด้านการทหารและพลเรือน
          สมุหนายก ราชทินนามไม่ทรงกำหนดแน่นอน ที่ใช้อยู่ก็มี เจ้าพระยาจักรี บดินทร์เดชานุชิต รัตนาพิพิธ ฯลฯ ใช้ตราราชสีห์เป็นตราประจำตำแหน่ง มีอำนาจบังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือทั้งห้านการทหารและพลเรือน 
          จตุสดมภ์ มีดังนี้
          (1) กรมเวียง หรือ กรมเมือง เสนาบดี คือ เจ้าพระยายมราช มีตราพระยมทรงสิงห์เป็นตราประจำตำแหน่ง มีหน้าที่ดูแลกิจการทั่วไปในพระนคร
          (2) กรมวัง เสนาบดี คือ พระยาธรรมา ใช้ตราเทพยดาทรงพระนนทิกร (พระโค) เป็นตราประจำ ตำแหน่ง มีหน้าที่ดูแลพระราชวังและตั้งศาลชำระความ
          (3) กรมคลัง หรือ กรมท่า ใช้ตราบัวแก้วเป็นตราประจำตำแหน่ง มีเสนาบดีดำรงตำแหน่งตามหน้าที่รับผิดชอบ คือ 
               - ฝ่ายการเงิน ตำแหน่งเสนาบดี คือ พระยาราชภักดี
               - ฝ่ายการต่างประเทศ ตำแหน่งเสนาบดี คือ พระยาศรีพิพัฒน์
               - ฝ่ายตรวจบัญชีและดูแลหัวเมืองชายทะเลตะวันออก ตำแหน่งเสนาบดี คือ พระยาพระคลัง
          (4) กรมนา เสนาบดีมีตำแหน่ง พระนาพลเทพ ใช้ตราพระพิรุณทรงนาค เป็นตราประจำตำแหน่งมีหน้าดูแลที่นาหลวง เก็บภาษีข้าว และพิจารณาคดีความเกี่ยวกับที่นา
          1.2) การปกครองส่วนภูมิภาค
          การปกครองหัวเมือง คือ การบริหารราชการแผ่นดินในหัวเมืองรอบนอกที่อยู่ห่างไดลกรุงเทพฯ หัวเมืองเหล่านี้จัดแบ่งเป็นหัวเมืองเอก โท ตรี จัตวา ตามความสำคัญทางยุทธศาสตร์และความหนาแน่นของพลเมือง มีเสนาบดีเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบทั้งในด้านการทหาร และพลเรือน ตลอดจนเศรษฐกิจและกิจการรักษาความยุติธรรม ดังนี้
          (1) สมุหนายก รับผิดชอบหัวเมืองเหนือ และหัวเมืองอีสานทั้งหมด
          (2) สมุหกลาโหม รับผิดชอบหัวเมืองใต้ทั้งหมด ตั้งแต่เพชรบุรีลงไป
          (3) เสนาบดีกรมพระคลัง รับผิดชอบหัวเมืองชายทะเลตันออกทั้งหมด (มี 9 เมือง ได้แก่ นนทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สาครบุรี ชลบุรี บางละมุง ระยอง จันทบุรี และตราด)
          การแต่งตั้งเจ้าเมือง เมืองเอก พระมหากษัตริญ์ทรงแต่งตั้งเอง
                                  เมืองโท ตรี และจัตวา เสนาบดีผู้รับผิดชอบเป็นผู้แต่งตั้ง
หมายเหตุ เมืองเอก ได้แก่ พิษณุโลก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ถลาวง และสงขลา
          1.3) การปกครองประเทศราช
 ประเทศราชของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้แก่ 
          (1) ล้านนาไทย (เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงแสน)
          (2) ลาว (หลวงพระบาง เวียงจันทน์ จำปางศักดิ์)
          (3) เขมร
          (4) หัวเมืองมลายู (ปัตตานี ไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู)
          ประเทศราชเหล่านี้มีเจ้าเป็นผู้ปกครองกันเอง ความผูกพันที่มีต่อกรุงเทพฯ คือ การส่งเครื่องราชบรรณาการต้นไม้ทองตามกำหนดเวลา และช่วยราชการทหารตามแต่กรุงเทพฯ จะมีใบบอกแจ้งไปภารกิจของกรุงเทพฯ คือ ปกป้องดูแลมิให้ศึกศัตรูโจมตีประเทษราชเหล่านี้ 
2) การชำระแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย
          สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงรวบรวมและชำระกฎหมายเก่า แล้วโปรดเกล้าฯ ให้อาลักษณ์คัดลอกไว้ 3 ฉบับท ทุกฉบับปีทับตราคชสีห์ ราชสีห์ และบัวแก้ว ซึ่งเป็นตราประจำตำแหน่งสมุหกลาโหม สมุหนายก และพระยาพระคลัง กฎหมายฉบับนี้จึงมีชื่อเรียกว่า กฎหมายตราสามดวง หรือประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1 ได้ใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศมาจนถึงรัชกาลที่ 5
           
สร้างโดย: 
อาจารย์รัชญา ไชยนา และ น.ส.ชัชวรรณ ธิติทรัพย์เลิศ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 243 คน กำลังออนไลน์