• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e80cd46f7a6e08a8e354eaf2446a6600' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u19943/opp.gif\" height=\"137\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><em><u><span style=\"color: #ff0000\">การผุกร่อนโลหะและการป้องกัน</span></u></em></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\nเมื่อโลหะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันหรือถูกออกซิไดซ์ จะมีการกร่อนของโลหะนั้น ๆ เกิดขึ้น<br />\n ดังนั้นหลักของการป้องกันการกร่อนก็คือ การป้องกันไม่ให้โลหะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันนั่นเอง <br />\n          <br />\nโลหะที่มีค่า E๐ ครึ่งเซลล์รีดักชันสูงที่สุดได้แก่ ทองคำจะสามารถทนต่อการกร่อนได้มากที่สุด <br />\nทองคำจึงเป็นโลหะมีค่า แพลตินัม เงิน และทองแดงที่มีค่า E๐ ครึ่งเซลล์รีดักชันเป็นบวกก็มี<br />\nความสามารถทนต่อการกร่อนได้ดีรองลงมา ส่วนโลหะอื่น ๆ ก็จะเป็นโลหะที่ถูกออกซิไดซ์ได้ง่าย<br />\n นั่นคือมีโอกาสกร่อนได้ง่ายกว่า ตัวอย่างการกร่อนที่พบได้บ่อยและชัดเจนคือการเกิดสนิมเหล็กหรือ<br />\nการเกิดออกไซด์ของเหล็ก เหล็กเป็นสนิมได้ก็ต่อเมื่อมีแก๊สออกซิเจนและน้ำอยู่ด้วย <br />\nปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็กค่อนข้างซับซ้อนและมีลักษณะเฉพาะตัว แต่เชื่อว่ามีขั้นตอนที่สำคัญคือ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"249\" src=\"/files/u19943/corrosion.gif\" height=\"208\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electrochemistry/web/electrochem04.htm\">http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electrochemistry/web/electrochem04.htm</a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n ปฏิกิริยาออกซิเดชันเกิดขึ้นเมื่อพื้นผิวส่วนหนึ่งของเหล็กทำหน้าที่เป็นแอโนด ดังสมการ\n</p>\n<p align=\"center\">\n   Fe(s) --&gt; Fe2+(aq) + 2e- <br />\n          ออกซิเจนถูกรีดิวซ์ที่ผิวอีกส่วนหนึ่งของเหล็กซึ่งทำหน้าที่เป็นแคโทด เมื่อมีน้ำอยู่ด้วย ดังสมการ<br />\n  2O2 (g) + 4H2O(l) + 8e-  8OH-(aq) <br />\n          <br />\n   และมีปฏิกิริยาต่อเนื่องต่อไปคือ<br />\n  4Fe2+(aq) + 8OH-(aq) --&gt; 4Fe(OH)2 (aq) <br />\n  4Fe(OH)2 (aq) + O2 (g) --&gt; 2Fe2O3.2H2O(s) + H2O(l) <br />\n   \n</p>\n<p align=\"center\">\nFe2O3.2H2O คือสนิมเหล็ก\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"350\" src=\"/files/u19943/line015.gif\" height=\"72\" />\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/46800\"><img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u19943/catty.gif\" height=\"298\" /></a>\n</p>\n', created = 1719976333, expire = 1720062733, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e80cd46f7a6e08a8e354eaf2446a6600' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การผุกร่อน

 

การผุกร่อนโลหะและการป้องกัน

เมื่อโลหะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันหรือถูกออกซิไดซ์ จะมีการกร่อนของโลหะนั้น ๆ เกิดขึ้น
 ดังนั้นหลักของการป้องกันการกร่อนก็คือ การป้องกันไม่ให้โลหะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันนั่นเอง
         
โลหะที่มีค่า E๐ ครึ่งเซลล์รีดักชันสูงที่สุดได้แก่ ทองคำจะสามารถทนต่อการกร่อนได้มากที่สุด
ทองคำจึงเป็นโลหะมีค่า แพลตินัม เงิน และทองแดงที่มีค่า E๐ ครึ่งเซลล์รีดักชันเป็นบวกก็มี
ความสามารถทนต่อการกร่อนได้ดีรองลงมา ส่วนโลหะอื่น ๆ ก็จะเป็นโลหะที่ถูกออกซิไดซ์ได้ง่าย
 นั่นคือมีโอกาสกร่อนได้ง่ายกว่า ตัวอย่างการกร่อนที่พบได้บ่อยและชัดเจนคือการเกิดสนิมเหล็กหรือ
การเกิดออกไซด์ของเหล็ก เหล็กเป็นสนิมได้ก็ต่อเมื่อมีแก๊สออกซิเจนและน้ำอยู่ด้วย
ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็กค่อนข้างซับซ้อนและมีลักษณะเฉพาะตัว แต่เชื่อว่ามีขั้นตอนที่สำคัญคือ

http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electrochemistry/web/electrochem04.htm 

 

 

 ปฏิกิริยาออกซิเดชันเกิดขึ้นเมื่อพื้นผิวส่วนหนึ่งของเหล็กทำหน้าที่เป็นแอโนด ดังสมการ

   Fe(s) --> Fe2+(aq) + 2e-
          ออกซิเจนถูกรีดิวซ์ที่ผิวอีกส่วนหนึ่งของเหล็กซึ่งทำหน้าที่เป็นแคโทด เมื่อมีน้ำอยู่ด้วย ดังสมการ
  2O2 (g) + 4H2O(l) + 8e-  8OH-(aq)
         
   และมีปฏิกิริยาต่อเนื่องต่อไปคือ
  4Fe2+(aq) + 8OH-(aq) --> 4Fe(OH)2 (aq)
  4Fe(OH)2 (aq) + O2 (g) --> 2Fe2O3.2H2O(s) + H2O(l)
   

Fe2O3.2H2O คือสนิมเหล็ก

 

 

สร้างโดย: 
อาจารย์กุลรณี อารีมิตรและนางสาวพัชรีพร จันทร์ส่องและโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 455 คน กำลังออนไลน์