• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('แม่หมูใจเพชร', 'node/94296', '', '3.15.150.59', 0, '29b185d53890a009e369f88ce39f972a', 168, 1716161791) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:492c143be33e45cc4e4407e6b61d100a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">การติดต่อระหว่างเซลประสาท</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span>        </span>สภาวะของเซลประสาทที่เปลี่ยนจากศักย์ไฟฟ้าขณะพักเป็นศักย์ไฟฟ้าขณะกระตุ้น และมีการแพร่ไปตามแนวเส้นประสาทแอ็กซอนจนถึงส่วนปลายประสาท เป็นจุดเริ่มต้นของการส่งสัญญาณประสาท แต่การส่งต่อไปยังเซลประสาทอื่นๆนั้น ที่ปลายของเส้นประสาทจะมีจุดเชื่อมต่อระหว่างเซลเรียกว่า ซินแนปส์ (</span></b><b><span style=\"color: gray; font-family: Tahoma\">Synapse) (<span lang=\"TH\">รูปที่ ๒) ซินแนปส์มีส่วนประกอบคือ ปลายของเส้นประสาทของ ๒ เซลและช่องว่างที่อยู่ระหว่างปลายเส้นประสาท การติดต่อระหว่างเซลประสาทนั้นจำเป็นต้องอาศัยสารสื่อสัญญาณประสาทซึ่งถูกเก็บอยู่ที่ปลายประสาทของ</span></span></b></span><span style=\"font-size: 14pt; color: red; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">แอ็กซอน</span><span style=\"font-size: small\"><span><span style=\"color: #000000; font-family: Times New Roman\">     </span></span><b><span style=\"color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เมื่อถูกกระตุ้นจะหลั่งออกมาแล้วผ่านช่องว่างระหว่างเซลเข้าสู่ตัวรับที่อยู่ในปลายประสาทของเด็นไดรท์ของอีกเซลหนึ่ง สารสื่อประสาทนี้มีหลายชนิดแล้วแต่หน้าที่ นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติเฉพาะกับตัวรับชนิดต่างๆ เมื่อรับสารสื่อประสาทเข้าสู่ตัวรับในปลายประสาทของเด็นไดรท์แล้ว จะก่อให้เกิดการกระแสไฟฟ้าหลังซินแนปส์ เรียกว่า ศักย์ไฟฟ้าหลังซินแนปส์ ซึ่งอาจเป็นการกระตุ้นหรือการยับยั้ง ขึ้นอยู่กับชนิดของสารสื่อประสาท ในสภาพความเป็นจริงนั้น เซลประสาท หนึ่งเซลได้รับสัญญาณประสาททั้งกระตุ้นและยับยั้งจากเซลจำนวนเป็นร้อยหรืออาจเป็นพันสัญญาณ สิ่งที่เป็นตัวกำหนดว่าแอ็กซอนจะยิงสัญญาณประสาทหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ของชนิดสัญญาณ ถ้าผลลัพธ์เป็นสัญญาณประสาทชนิดกระตุ้น แอ็กซอนก็จะยิงสัญญาณประสาท แต่ถ้าผลลัพธ์เป็นสัญญาณประสาทชนิดยับยั้ง แอ็กซอนก็จะไม่ยิงสัญญาณประสาท นอกจากนั้น อัตราการยิงสัญญาณประสาทยังขึ้นอยู่กับระดับความเข้มของสิ่งกระตุ้น การยิงอาจอัตราสูงถึง ๒๐๐-๙๐๐ ครั้งต่อวินาที อัตราการยิงนี้เป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างซินแนปส์ของเซลประสาท ปริมาณของสารสื่อประสาทที่เกิดขึ้น และอัตราการรับและส่งต่อของเซลประสาทในวงจรนั้นๆ</span></b></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"431\" src=\"/files/u18977/431x320-images-stories-article-brain1_jpg.jpg\" height=\"320\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 14pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">รูปที่ ๒ ซินแนปส์ </span></b><b><span style=\"color: #ff6600; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\">Synapse</span></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"color: #ff6600; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><a href=\"http://www.igil.or.th/plugins/content/mavikthumbnails/thumbnails/431x320-images-stories-article-brain1.jpg.jpeg\">http://www.igil.or.th/plugins/content/mavikthumbnails/thumbnails/431x320-images-stories-article-brain1.jpg.jpeg</a></span></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"color: #ff6600; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"color: #ff6600; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><o:p></o:p></span></span></b>  </p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/41698\"><img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u18977/HOME.gif\" height=\"50\" /></a>\n</p>\n', created = 1716161820, expire = 1716248220, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:492c143be33e45cc4e4407e6b61d100a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การติดต่อระหว่างเซลประสาท

การติดต่อระหว่างเซลประสาท 

        สภาวะของเซลประสาทที่เปลี่ยนจากศักย์ไฟฟ้าขณะพักเป็นศักย์ไฟฟ้าขณะกระตุ้น และมีการแพร่ไปตามแนวเส้นประสาทแอ็กซอนจนถึงส่วนปลายประสาท เป็นจุดเริ่มต้นของการส่งสัญญาณประสาท แต่การส่งต่อไปยังเซลประสาทอื่นๆนั้น ที่ปลายของเส้นประสาทจะมีจุดเชื่อมต่อระหว่างเซลเรียกว่า ซินแนปส์ (Synapse) (รูปที่ ๒) ซินแนปส์มีส่วนประกอบคือ ปลายของเส้นประสาทของ ๒ เซลและช่องว่างที่อยู่ระหว่างปลายเส้นประสาท การติดต่อระหว่างเซลประสาทนั้นจำเป็นต้องอาศัยสารสื่อสัญญาณประสาทซึ่งถูกเก็บอยู่ที่ปลายประสาทของแอ็กซอน     เมื่อถูกกระตุ้นจะหลั่งออกมาแล้วผ่านช่องว่างระหว่างเซลเข้าสู่ตัวรับที่อยู่ในปลายประสาทของเด็นไดรท์ของอีกเซลหนึ่ง สารสื่อประสาทนี้มีหลายชนิดแล้วแต่หน้าที่ นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติเฉพาะกับตัวรับชนิดต่างๆ เมื่อรับสารสื่อประสาทเข้าสู่ตัวรับในปลายประสาทของเด็นไดรท์แล้ว จะก่อให้เกิดการกระแสไฟฟ้าหลังซินแนปส์ เรียกว่า ศักย์ไฟฟ้าหลังซินแนปส์ ซึ่งอาจเป็นการกระตุ้นหรือการยับยั้ง ขึ้นอยู่กับชนิดของสารสื่อประสาท ในสภาพความเป็นจริงนั้น เซลประสาท หนึ่งเซลได้รับสัญญาณประสาททั้งกระตุ้นและยับยั้งจากเซลจำนวนเป็นร้อยหรืออาจเป็นพันสัญญาณ สิ่งที่เป็นตัวกำหนดว่าแอ็กซอนจะยิงสัญญาณประสาทหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ของชนิดสัญญาณ ถ้าผลลัพธ์เป็นสัญญาณประสาทชนิดกระตุ้น แอ็กซอนก็จะยิงสัญญาณประสาท แต่ถ้าผลลัพธ์เป็นสัญญาณประสาทชนิดยับยั้ง แอ็กซอนก็จะไม่ยิงสัญญาณประสาท นอกจากนั้น อัตราการยิงสัญญาณประสาทยังขึ้นอยู่กับระดับความเข้มของสิ่งกระตุ้น การยิงอาจอัตราสูงถึง ๒๐๐-๙๐๐ ครั้งต่อวินาที อัตราการยิงนี้เป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างซินแนปส์ของเซลประสาท ปริมาณของสารสื่อประสาทที่เกิดขึ้น และอัตราการรับและส่งต่อของเซลประสาทในวงจรนั้นๆ

 

 

 

 

 

 

รูปที่ ๒ ซินแนปส์ Synapse

http://www.igil.or.th/plugins/content/mavikthumbnails/thumbnails/431x320-images-stories-article-brain1.jpg.jpeg

 

สร้างโดย: 
น.ส.เพ็ญนภา ติษยางกูร และ อาจารย์วิริยะ โภคาพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 296 คน กำลังออนไลน์