• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2b1066eb9ed0c5a1e4ff63d1f48f62d1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<u><strong></strong></u>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<u><strong>อาณาจักรโพรทิสตา (Protista  Kingdom)</strong></u>\n</p>\n<p>\n            สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโพรทิสตาหรือเรียกรวมๆว่า <strong>กลุ่มโพรทิสต์</strong> มีลักษณะสำคัญคือส่วนใหญ่เป็นพวกที่มีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ แต่เซลล์ยังไม่มีการจัดตัวกันเป็นเนื้อเยื่อดังเช่นพืชและสัตว์ สิ่งมีชีวิตบางชนิดในกลุ่มนี้ ยังมีลักษณะของทั้งพืชและสัตว์ร่วมกัน กล่าวคือในเซลล์มีคลอโรฟิลล์เช่นเดียวกับพืช แต่มีโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ได้เช่นเดียวกับสัตว์ ดังนั้น นักชีววิทยาจึงจัดสิ่งมีชีวิตพวกนี้ไว้เป็นอาณาจักรที่แยกออกจากกลุ่มสัตว์และพืช\n</p>\n<p>\n<strong>ลักษณะสำคัญของโปรติสต์ (Protist)</strong> \n</p>\n<p>\n         <strong>1.ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่ายๆไม่ซับซ้อน</strong> ส่วนมากประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular) บางชนิดมีหลายเซลล์รวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า <strong><em>โคโลนี (colony)</em></strong> หรือเป็น<strong><em>สายยาว (filament)</em></strong> แต่ยังไม่ทำหน้าที่ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ (tissue)หรืออวัยวะ (organ) แต่ละเซลล์สามารถทำหน้าที่ของความเป็นสิ่งมีชีวิตได้ครบถ้วนอย่างอิสระ <br />\n         <strong>2.ไม่มีระยะตัวอ่อน (Embryo)</strong> ซึ่งต่างจากพืชและสัตว์ที่มีระยะตัวอ่อนก่อนที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัย <br />\n        <strong> 3.การดำรงชีพ</strong> มีทั้งชนิดที่เป็นผู้ผลิต(Autotroph) เป็นผู้บริโภค (Consumer)และเป็นผู้ย่อยสลายอินทรียสาร <br />\n         <strong>4.โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก(Eucaryotic)</strong> ซึ่งมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส <br />\n         <strong>5.การเคลื่อนที่</strong> บางชนิดเคลื่อนที่ได้โดยใช้ ซีเลีย (cilia) แฟลกเจลลัม (flagellum) หรือซูโดโปเดียม (Pseudopodium)        บางชนิดเคลื่อนที่ไม่ได้ <br />\n         <strong>6.การสืบพันธุ์</strong> ทั้งแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) และแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) แบบอาศัยเพศมีทั้งชนิดคอนจูเกชัน (Conjugation) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและขนาดเหมือนกัน มารวมกัน ดังเช่นที่พบในพารามีเซียม ราดำ เป็นต้น และชนิดปฏิสนธิ (fertilization) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ ที่มีรูปร่างและขนาดต่างกันมารวมกัน ดังเช่นพบในสาหร่ายเป็นส่วนใหญ่\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/ch7505.jpg\" alt=\"http://www.connecticutvalleybiological.com/images/ch7505.jpg\" style=\"width: 511px; height: 594px\" height=\"342\" width=\"250\" />\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" height=\"15\" width=\"75\" /><strong><a href=\"/node/48506\">Phylum Protozoa</a> <br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" height=\"15\" width=\"75\" /><a href=\"/node/48510\">Phylum Chlorophyta</a> <br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" height=\"15\" width=\"75\" /><a href=\"/node/48511\">Phylum Chrysophyta <br />\n</a> <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" height=\"15\" width=\"75\" /><a href=\"/node/48516\">Phylum Phaeophyta</a>  <br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" height=\"15\" width=\"75\" /><a href=\"/node/48518\">Phylum Rhodophyta</a>  <br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" height=\"15\" width=\"75\" /><a href=\"/node/48768\">Phylum Myxomycophyta</a></strong>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\nที่มา : <a href=\"http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&amp;file=readknowledge&amp;id=1527\">http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&amp;file=readknowledge&amp;id=1527</a> <br />\n         <a href=\"http://www.livesbiology.ob.tc/5.html\">http://www.livesbiology.ob.tc/5.html</a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/41856?page=0%2C4\" title=\"กลัยอาณาจักร 5\"> </a><a href=\"/node/41856?page=0%2C4\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/home-button.gif\" style=\"width: 51px; height: 46px\" height=\"31\" width=\"33\" /></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726707160, expire = 1726793560, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2b1066eb9ed0c5a1e4ff63d1f48f62d1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อาณาจักรโพรทิสตา (Protista Kingdom)

 


อาณาจักรโพรทิสตา (Protista  Kingdom)

            สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโพรทิสตาหรือเรียกรวมๆว่า กลุ่มโพรทิสต์ มีลักษณะสำคัญคือส่วนใหญ่เป็นพวกที่มีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ แต่เซลล์ยังไม่มีการจัดตัวกันเป็นเนื้อเยื่อดังเช่นพืชและสัตว์ สิ่งมีชีวิตบางชนิดในกลุ่มนี้ ยังมีลักษณะของทั้งพืชและสัตว์ร่วมกัน กล่าวคือในเซลล์มีคลอโรฟิลล์เช่นเดียวกับพืช แต่มีโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ได้เช่นเดียวกับสัตว์ ดังนั้น นักชีววิทยาจึงจัดสิ่งมีชีวิตพวกนี้ไว้เป็นอาณาจักรที่แยกออกจากกลุ่มสัตว์และพืช

ลักษณะสำคัญของโปรติสต์ (Protist) 

         1.ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่ายๆไม่ซับซ้อน ส่วนมากประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular) บางชนิดมีหลายเซลล์รวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า โคโลนี (colony) หรือเป็นสายยาว (filament) แต่ยังไม่ทำหน้าที่ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ (tissue)หรืออวัยวะ (organ) แต่ละเซลล์สามารถทำหน้าที่ของความเป็นสิ่งมีชีวิตได้ครบถ้วนอย่างอิสระ 
         2.ไม่มีระยะตัวอ่อน (Embryo) ซึ่งต่างจากพืชและสัตว์ที่มีระยะตัวอ่อนก่อนที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัย 
         3.การดำรงชีพ มีทั้งชนิดที่เป็นผู้ผลิต(Autotroph) เป็นผู้บริโภค (Consumer)และเป็นผู้ย่อยสลายอินทรียสาร 
         4.โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก(Eucaryotic) ซึ่งมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส 
         5.การเคลื่อนที่ บางชนิดเคลื่อนที่ได้โดยใช้ ซีเลีย (cilia) แฟลกเจลลัม (flagellum) หรือซูโดโปเดียม (Pseudopodium)        บางชนิดเคลื่อนที่ไม่ได้ 
         6.การสืบพันธุ์ ทั้งแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) และแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) แบบอาศัยเพศมีทั้งชนิดคอนจูเกชัน (Conjugation) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและขนาดเหมือนกัน มารวมกัน ดังเช่นที่พบในพารามีเซียม ราดำ เป็นต้น และชนิดปฏิสนธิ (fertilization) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ ที่มีรูปร่างและขนาดต่างกันมารวมกัน ดังเช่นพบในสาหร่ายเป็นส่วนใหญ่

 http://www.connecticutvalleybiological.com/images/ch7505.jpg

 Phylum Protozoa 
 Phylum Chlorophyta 
 Phylum Chrysophyta 
 Phylum Phaeophyta  
 Phylum Rhodophyta  
 Phylum Myxomycophyta


ที่มา : http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1527 
         http://www.livesbiology.ob.tc/5.html


  


 

สร้างโดย: 
นางสาว ชิดชนก รักษ์ถาววรวงศ์ ; อาจารย์ที่ปรึกษา : นาย สมบูรณ์ กมลาสนางกูร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 378 คน กำลังออนไลน์