• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:319190d0b9582c6712efd453ffceb2a3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>ความเครียดคืออะไร</b></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"315\" width=\"422\" src=\"http://www.siamburitraveltour.com/webboard/post_photo/q_8033.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">      <b>ความเครียด</b> ก็คือ การหดตัวของกล้ามเนื้อส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนของร่างกาย นั่นเอง ซึ่งทุกคนจำเป็นต้องมีอยู่เสมอในการดำรงชีวิต เช่น การทรงตัว เคลื่อนไหวทั่วๆไป มีการศึกษาพบว่าทุกครั้งที่เราคิดหรือมีอารมณ์บางอย่างเกิดขึ้นจะต้องมีการหดตัว เคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อแห่งใดแห่งหนึ่ง ในร่างกายเกิดขึ้นควบคู่เสมอ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">ในทางวิชาการ ความเครียดหมายถึงปฏิกิริยาของร่างกายและจิตใจ ที่มีต่อสิ่งที่มากระตุ้น ซึ่งคำว่าปฏิกิริยาก็ไม่ได้จำเพาะเจาะจงว่าส่วนใดส่วนหนึ่ง อาจจะเป็นการตอบสนองของร่างกายบางส่วน เช่น ปวดหัว หัวใจเต้นแรง เหงื่อออก หรือเป็นความรู้สึกกระวนกระวาย และสิ่งที่มากระตุ้น หรือสิ่งเร้าที่จะทำให้เกิดความเครียดก็แตกต่างกันไปในแต่ละคน</span>  </span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">เมื่อวิกฤตการณ์ผ่านพ้นไปร่างกายจะกลับสู่สภาวะปกติ แต่ความเครียดที่เป็นอันตราย ก็คือความเครียดที่</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\">เกิดขึ้นมากเกินความจำเป็น เมื่อเกิดแล้วคงอยู่เป็นประจำ ไม่ลดหรือหายไปตามปกติ หรือเกิดขึ้นโดยไม่มี</span><span lang=\"TH\">เหตุการณ์ที่เป็นการคุมคามจริงๆ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">เท่าที่มีการศึกษา เรื่องปัญหาสุขภาพจิตในประเทศไทยพบว่าในภาวะปกติ คนทั่ว ๆ ไป จะมีความรู้สึกเครียด</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> <span lang=\"TH\">หรือมีอาการในระดับปานกลาง และมากประมาณ </span>20-30 <span lang=\"TH\">เปอร์เซ็นต์ ของประชากร แต่หลังจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ (ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม </span>2540 <span lang=\"TH\">ซึ่งประกาศลอยตัวค่าเงินบาท) เป็นต้นมา การสอบถามโดยใช้แบบสอบถามประชาชนทั่วไป จะรู้สึกเครียดมากขึ้นเป็น </span>40-60 <span lang=\"TH\">เปอร์เซ็นต์ แล้วแต่อาชีพ ซึ่งถ้าดูแล้วคนที่ไม่เครียด นอกจากเด็กที่ไม่รู้เรื่องอะไรแล้ว ก็เห็นจะเป็นผู้ใหญ่ หรือคนแก่ที่สมองเสื่อม หรือไม่รับรู้อะไรแล้ว</span> <o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">มีบางท่านอาจจะคิดว่า ขนาดของปัญหาจะสัมพันธ์กับความเครียดที่เกิดขึ้น ซึ่งตามความเป็นจริงแล้ว</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\">ไม่เป็นเช่นนั้น เราอาจจะเห็นผู้ที่ติดหนี้ธนาคาร </span>3,000 <span lang=\"TH\">ล้านบาท กินได้ นอนหลับ ในขณะที่ผู้ที่ถูกทวงเงิน</span><br />\n<span lang=\"TH\">ไม่กี่พันบาทมีอาการเครียดกินไม่ได้นอนไม่หลับ ดังนั้น คนที่จะเอาตัวรอดจากความเครียดได้ ต้องรู้จัก</span> “<span lang=\"TH\">จัดการ</span>” <span lang=\"TH\">กับความเครียดนั้น ซึ่งโดยความหมายแล้ว การ</span> “<span lang=\"TH\">จัดการ</span>”<span lang=\"TH\">ไม่ได้หมายความว่าให้เราขจัดความเครียดให้หมดไป แต่หมายถึงวิธีการที่เราจะอยู่กับความเครียดของเราให้ได้ </span> <o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>เมื่อคิดว่าเรากำลังเริ่มเครียด</b></span><span></span></span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"> </span></span><br />\n<b>1. </b><span lang=\"TH\"><b>หยุดคิดสักครู่ </b>หรือพยายามนึกถึงภาพสวย ๆ สถานที่สวย ๆ ที่เคยเห็นหรือเคยไปพบ บางครั้งเราไม่</span><br />\n<span lang=\"TH\">สามารถหนีจากสถานการณ์ หรือ ภาวะแวดล้อมไปได้ก็จะใช้ความคิดฝันให้เป็นประโยชน์เหมือนเพลง</span> <br />\n“To dream the impossible dream”</span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"482\" width=\"482\" src=\"http://pirun.ku.ac.th/~b4915043/c62d1aa85c57913.jpg\" />\n</div>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> </span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>2. </b><span lang=\"TH\"><b>เมื่อหยุดคิด</b> หรือหยุดความฟุ้งซ่านลงได้บ้างแล้วให้พยายามเรียงลำดับปัญหาตามความสำคัญอาจจะนั่ง</span><span lang=\"TH\">นึก หรือเขียนลงเป็นข้อ ๆ และค่อย ๆ คิดดูว่าปัญหาใด แก้ไขได้ ปัญหาใดต้องรอไว้ก่อน หรือปัญหาบางอย่าง</span><br />\n<span lang=\"TH\">ที่ไม่สามารถแก้ไขได้เลย คงต้องยอมรับขีดความสามารถในการแก้ไขปัญหาของเราอย่างเป็นจริง</span> <o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"318\" width=\"450\" src=\"http://women.sanook.com/story_picture/b/47327_002.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>3. </b><span lang=\"TH\"><b>เมื่อเรียงลำดับปัญหาได้แล้วก็ต้องพยายามหากิจกรรมต่าง ๆ</b> ทำที่ดีที่สุด คือ การออกำลังกาย เล่นกีฬา</span><span lang=\"TH\">ชนิดต่าง ๆ ที่ตนเองถนัด หรือพอเล่นได้ หรือทำกิจกรรมช่วยเหลือผู้อื่น เช่น ไปเลี้ยงเด็กกำพร้า</span> <span lang=\"TH\">เลี้ยงอาหารผู้ป่วยสามัญ โดยเฉพาะตามโรงพยาบาลจิตเวชต่าง ๆ ที่ขาดแคลนคนเหลียวแล</span> </span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"337\" width=\"454\" src=\"http://www.tkc.go.th/eng/Sitedirectory/154/2928/3044_dance1.jpg\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>4. </b><span lang=\"TH\"><b>หาเพื่อนหรือผู้ที่เราสามารถระบายความเครียดได้</b> เราอาจจะคุยกับญาติ พี่น้อง ครู พระ หรือผู้ที่สามารถ</span><span lang=\"TH\">รับฟังสิ่งที่เราวิตกกังวล และทำให้เครียด ถ้ายังรู้สึกว่ามีปัญหามากอาจจะไปพบผู้อื่นที่ทำหน้าที่ให้คำปรึกษา</span> <br />\n(Counsellor) <span lang=\"TH\">นักจิตวิทยา หรือจิตแพทย์ สำหรับวิชาชีพหลังสุด อยากให้ไปพบในกรณีสุดท้าย เพราะ</span><span lang=\"TH\">อาจจะไม่มีเวลามากพอสำหรับท่านที่อยากระบายความเครียดนาน ๆ และแถมยังต้องเสียค่าใช้จ่ายตาม</span><span lang=\"TH\">กรณีอีกด้วย</span> <o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"300\" width=\"450\" src=\"http://gotoknow.org/file/mhsresearch/j0400039.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>ผลของความเครียดต่อชีวิต</b></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>   <span style=\"color: #ff0000\">-ผลต่อสุขภาพทางกาย</span></b><span style=\"color: #ff0000\"> </span>ได้แก่ อาการไม่สบายทางกายต่างๆเช่น ปวดหัว</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> <span lang=\"TH\">ปวดเมื่อยตามส่วนต่างๆของร่างกาย ความผิดปกติของหัวใจ ความดันโลหิตสูง</span> <span lang=\"TH\">โรคกระเพาะ อาการท้องผูกท้องเสียบ่อยๆ นอนไม่หลับ หอบหืด</span> <br />\n<span lang=\"TH\">เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ</span></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"337\" width=\"450\" src=\"http://www.aphonda.co.th/2007/promotion/image/29102007/2.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff0000\"><b>   -ผลต่อสุขภาพจิตใจ</b></span> นำไปสู่ ความวิตกกังวล ซึมเศร้า กลัวอย่างไรเหตุผล</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> <span lang=\"TH\">อารมณ์ไม่มั่นคง เปลี่ยนแปลงง่าย หรือโรคประสาทบางอย่าง</span> <o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">นอกจากนี้ความเครียดส่งผลต่อร่างกายและจิตใจ ย่อมส่งผลไปถึง ประสิทธิภาพในการทำงาน สัมพันธภาพต่อครอบครัวและบุคคลแวดล้อม และเมื่อประสิทธิภาพในงานตกต่ำ สัมพันธภาพเสื่อมทรามลง จิตใจย่อมได้รับผลตึงเครียดมากขึ้นซ้ำซ้อน นับว่าความเครียดเป็นภัยต่อชีวิตอย่างยิ่ง</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> <o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"450\" width=\"300\" src=\"http://women.sanook.com/story_picture/m/35846_002.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>สาเหตุของความเครียด</b></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"></span></span><span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>   <span style=\"color: #ff0000\">-สภาพแวดล้อมทั่วไป</span></b> เช่น มลภาวะ ได้แก่ เสียงดังเกินไป จากเครื่องจักร</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\">เครื่องยนต์ อากาศเสียจากควันท่อไอเสีย น้ำเสีย ฝุ่น ละออง ยาฆ่าแมลง</span> </span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"373\" width=\"524\" src=\"http://www.whyworldhot.com/images/wildfirealaska.jpg\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">    <span lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\"><b>-การอยู่กันอย่างเบียดเสียด</b> </span>ยัดเยียด เป็นต้น</span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"333\" width=\"500\" src=\"http://www.udclick.com/home1/images/stories/Content2/news/chaina/zchina2008120602.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">   <b><span style=\"color: #ff0000\"> -สภาพเศรษฐกิจที่ไม่น่าพอใจ</span></b> เช่น รายได้น้อยกว่ารายจ่าย</span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"292\" width=\"300\" src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/41/41/images/kafe/stockmarket.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>   <span style=\"color: #ff0000\">-สภาพแวดล้อมทางสังคม</span></b><span style=\"color: #ff0000\"> </span>เช่น การสอบแข่งขันเข้าเรียน</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">เข้าทำงาน เลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่ง เป็นต้น </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"http://dek-d.com/contentimg/nan/japan3.JPG\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">  <b><span style=\"color: #ff0000\"> - นิสัยในการกิน-ดื่ม</span></b> ที่ส่งเสริมความเครียด เช่น ผู้ที่ดื่มกาแฟบ่อยๆ สูบบุหรี่</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> <span lang=\"TH\">ดื่มเหล้า ตลอดจนกินของกินที่มีน้ำตาลมากๆ</span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"372\" width=\"386\" src=\"http://www.tnews.co.th/html/picture/tnews_1253159943_6327.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> <b>  <span style=\"color: #ff0000\">-มีสัมพันธภาพกับคนอื่นๆที่ไม่ราบรื่น</span></b> มักมีข้อขัดแย้ง ทะเลาะ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\">เบาะแว้งกับคนอื่นเป็นปกติวิสัย</span> <o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ความรู้สึกตนเองต่ำต้อยกว่าคนอื่น ต้องพยายามต่อสู้เอาชนะ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ต้องการมีอำนาจเหนือผู้อื่น </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"304\" width=\"448\" src=\"http://www.thaicinema.org/images/2007title/rakna/6.jpg\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>สาเหตุความเครียดของวัยรุ่น สาเหตุที่ทำให้วัยรุ่นเกิดความเครียดบ่อย ๆ ได้แก่</b></span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n<b>1. </b><span lang=\"TH\"><b>ปัญหาความสัมพันธ์และความขัดแย้งกับผู้อื่น</b> เช่น พ่อแม่ ญาติพี่น้อง เพื่อน เพื่อนต่างเพศ ครูอาจารย์ เป็นต้น</span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"201\" width=\"300\" src=\"http://gotoknow.org/file/kajonsaks/p7.jpg\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>2. </b><span lang=\"TH\"><b>ปัญหาภายในครอบครัว </b>เช่น ความรุนแรงในครอบครัว การทะเลาะเบาะแว้งและการทำร้ายร่างกายของพ่อแม่ การหย่าร้างของพ่อแม่ การเจ็บป่วยหรือการเสียชีวิตของพ่อแม่และญาติพี่น้อง การถูกพ่อแม่ลงโทษด้วยความรุนแรง การถูกพ่อแม่ตำหนิหรือดุว่าด้วยถ้อยคำรุนแรง การถูกล่วงละเมิดทางเพศ รวมถึงปัญหาเศรษฐกิจในครอบครัว</span> <o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"336\" width=\"448\" src=\"http://www.weekendhobby.com/offroad/bpboard/picture%5C9290264901.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"></span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>3. </b><span lang=\"TH\"><b>ปัญหาการเรียนและปัญหาอื่นในโรงเรียน</b> พ่อแม่ในปัจจุบันมักคาดหวังกับลูกวัยรุ่นสูงในเรื่องการเรียน วัยรุ่นที่เรียนไม่เก่ง หรือเรียนได้ไม่ดีเท่าที่ควรจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น โรคสมาธิสั้น โรคทักษะด้านการอ่านบกพร่อง ขาดกำลังใจ เป็นต้น</span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"273\" width=\"396\" src=\"http://www.igetweb.com/www/thaibabyclub/private_folder/88.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>4. </b><span lang=\"TH\"><b>ปัญหาสภาพแวดล้อมไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและสุขภาพ</b> </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>5. </b><span lang=\"TH\"><b>ปัญหาจากตัววัยรุ่นเอง</b> เช่น รูปร่าง หน้าตาและความเปลี่ยนแปลงของร่างกายในช่วงวัยรุ่น ความคิดความรู้สึกต่อตนเองในทางลบ รับผิดชอบกิจกรรมหลายอย่าง การมีความคาดหวังว่าต้องทำทุกอย่างสมบูรณ์แบบ การรับความคาดหวังจากพ่อแม่และผู้อื่นมาเป็นของตนเอง และป่วยเป็นโรคทางกายเรื้อรัง เป็นต้น </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">วัยรุ่นแปลความหมายของปัญหาที่ทำให้เกิดความตึงเครียดแตกต่างกันไป ตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคล และปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น เพศ อายุ ระดับพัฒนาการด้านความคิด อารมณ์ และสังคม รวมไปถึงอิทธิพลจากครอบครัว สังคม และวัฒนธรรม และปัจจัยเหล่านี้ยังมีส่วนกำหนดว่าวัยรุ่นจะจัดการกับความเครียดอย่างไร วัยรุ่นหญิงมักตึงเครียดจากสาเหตุความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลมากกว่าวัยรุ่นชาย ในเรื่องปัญหาการเรียนและปัญหาในโรงเรียน พบว่าวัยรุ่นตอนต้นมักตึงเครียดจากปัญหาการปรับตัวในโรงเรียน ส่วนวัยรุ่นตอนกลางและตอนปลายตึงเครียดจากปัญหาการเรียนและการเลือกอาชีพมากกว่า </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"345\" width=\"477\" src=\"http://img64.imageshack.us/img64/6901/218lowmt8.jpg\" />\n</div>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span>\n</p></div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><b> </b></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff0000\"><b>วิธีปฏิบัติเพื่อช่วยคลายเครียด</b></span> </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>1. </b><span lang=\"TH\"><b>การออกกำลังกาย</b> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ถ้ารู้สึกเครียดการออกกำลังกายจนเหนื่อยและมีเหงื่อออก จะช่วยให้รู้สึกดีขึ้น เนื่องจากร่างกายได้รับออกซิเจนมากขึ้น ภายหลังการออกกำลังแล้ว ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนแห่งความสุขออกมา ทำให้รู้สึกสบายและหายเครียด </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"323\" width=\"500\" src=\"http://www.showded.com/users/woman_talk/images/run1/1.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">2. <span lang=\"TH\">การพักผ่อน </span><o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>เมื่อรู้สึกเครียด</b> หลังเลิกงานแล้ว ควรทำกิจกรรมอื่น เพื่อเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ ทำอะไรก็ได้ที่ ใจชอบ ถือเป็นการพักสมอง และเติมพลังให้ชีวิต ทำให้พร้อมที่จะกลับไปทำงานอย่างสดชื่นอีกครั้งหนึ่ง</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"414\" width=\"500\" src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/392/25392/images/1c8b7039557093c.jpg\" />\n</div>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"></span></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">3. <span lang=\"TH\">การพูดอย่างสร้างสรรค์ </span><o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ลองคิดดูว่าถ้าในแต่ละวันต้องได้ยินได้ฟังแต่เสียงบ่น ได้ฟังแต่คำพูดที่ตำหนิติเตียน คำพูดที่ไม่เป็นมิตร ชีวิตของเราจะเป็นอย่างไร ดังนั้น จึงควรให้ความสำคัญกับการพูดคุยให้มาก ฝึกการพูดคุยกันด้วยดี ช่วยสร้างบรรยากาศที่ดีและช่วยให้ความสัมพันธ์ของคนที่อยู่ใกล้ตัวเราดีขึ้น</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"353\" width=\"473\" src=\"http://mblog.manager.co.th/uploads/976/images/%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%88%20%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%94-%E0%B8%9F%E0%B8%B1%E0%B8%87%20%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%20%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99%20%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%2017%20%E0%B8%AA.%E0%B8%84.2549%20006.jpg\" />\n</div>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"></span></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>4. <span lang=\"TH\">การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน </span></b><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน มีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะเมื่อมีความสัมพันธ์ที่ดีเกิดขึ้นแล้ว จะช่วยให้เกิดความรู้สึกอบอุ่น มั่นคง มีกำลังใจ สนุกสนานกับการทำงานมากขึ้น ช่วยให้ความเครียดลดลงได้มาก</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"300\" width=\"400\" src=\"http://www.changkhui.com/images/GuestPhotos/Img_KKT94.png\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>5. </b><span lang=\"TH\"><b>การแก้ปัญหาอย่างถูกวิธี</b> </span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ในชีวิตประจำวันของแต่ละวัน ย่อมมีปัญหาเกิดขึ้นเป็นธรรมดา แต่ถ้าแก้ปัญหาอย่างไม่เหมาะสม บางครั้งอาจร้ายแรงกว่าปัญหาเดิมด้วยซ้ำไป ถ้าได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เมื่อแก้ปัญหาได้ ความเครียดก็จะหมดไปด้วย</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"300\" width=\"400\" src=\"http://variety.teenee.com/foodforbrain/img6/24660.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">6. <span lang=\"TH\">การปรับเปลี่ยนความคิด </span><o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>ความเครียด </b>ส่วนหนึ่งมาจากความคิดของคนเรานั่นเอง ถ้ารู้จักปรับเปลี่ยนความคิด คิดในแง่มุมใหม่ จะช่วยให้ความเครียดลดน้อยลง และมีความสุขใจมากขึ้น </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"352\" width=\"389\" src=\"http://www.moreschool.net/education/picture/edu-20081210003941.jpg\" />\n</div>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>7. </b><span lang=\"TH\"><b>การสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ</b> </span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">การมีจิตใจที่เข้มแข็ง จะช่วยให้สามารถต่อสู้กับความเครียดได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้บางครั้งร่างกายจะเจ็บป่วย อ่อนแอ แต่ถ้าจิตใจเข้มแข็ง ก็จะสามารถ ฟันฝ่าเอาชนะปัญหาอุปสรรคต่างๆ ไปได้ ดังคำกล่าวที่ว่า</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> “<span lang=\"TH\">จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว</span>” <span lang=\"TH\">นั่นเอง</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"319\" width=\"316\" src=\"http://home.biotec.or.th/NewsCenter/my_documents/my_pictures/F2F4C_meditation.jpeg\" />\n</div>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><b>8. </b><span lang=\"TH\"><b>การรู้จักยืนยันสิทธิของตน</b> </span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ควรรู้จักรักษาในสิทธิอันชอบธรรมของตน เพื่อให้คนอื่นเกรงใจบ้าง แต่ทั้งนี้ก็ต้องไม่ไปละเมิดสิทธิของคนอื่น ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนเกิดความรำคาญ ทำให้เป็นที่เกรงใจของผู้อื่น และตัวเองก็จะรู้สึกว่ามีศักดิ์ศรี มั่นใจในตัวเองมากขึ้น ไม่ต้องเครียดเพราะต้องเกรงใจผู้อื่น ทำให้ไม่ทำลายจิตใจตนเองอีกต่อไป</span></span> </p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"305\" width=\"350\" src=\"http://www.rd1677.com/backoffice/PicUpdate/28048.jpg\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span>\n</p>\n', created = 1714245006, expire = 1714331406, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:319190d0b9582c6712efd453ffceb2a3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความเครียด

ความเครียดคืออะไร

 

 

      ความเครียด ก็คือ การหดตัวของกล้ามเนื้อส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนของร่างกาย นั่นเอง ซึ่งทุกคนจำเป็นต้องมีอยู่เสมอในการดำรงชีวิต เช่น การทรงตัว เคลื่อนไหวทั่วๆไป มีการศึกษาพบว่าทุกครั้งที่เราคิดหรือมีอารมณ์บางอย่างเกิดขึ้นจะต้องมีการหดตัว เคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อแห่งใดแห่งหนึ่ง ในร่างกายเกิดขึ้นควบคู่เสมอ 
ในทางวิชาการ ความเครียดหมายถึงปฏิกิริยาของร่างกายและจิตใจ ที่มีต่อสิ่งที่มากระตุ้น ซึ่งคำว่าปฏิกิริยาก็ไม่ได้จำเพาะเจาะจงว่าส่วนใดส่วนหนึ่ง อาจจะเป็นการตอบสนองของร่างกายบางส่วน เช่น ปวดหัว หัวใจเต้นแรง เหงื่อออก หรือเป็นความรู้สึกกระวนกระวาย และสิ่งที่มากระตุ้น หรือสิ่งเร้าที่จะทำให้เกิดความเครียดก็แตกต่างกันไปในแต่ละคน 
เมื่อวิกฤตการณ์ผ่านพ้นไปร่างกายจะกลับสู่สภาวะปกติ แต่ความเครียดที่เป็นอันตราย ก็คือความเครียดที่เกิดขึ้นมากเกินความจำเป็น เมื่อเกิดแล้วคงอยู่เป็นประจำ ไม่ลดหรือหายไปตามปกติ หรือเกิดขึ้นโดยไม่มีเหตุการณ์ที่เป็นการคุมคามจริงๆ  เท่าที่มีการศึกษา เรื่องปัญหาสุขภาพจิตในประเทศไทยพบว่าในภาวะปกติ คนทั่ว ๆ ไป จะมีความรู้สึกเครียด หรือมีอาการในระดับปานกลาง และมากประมาณ 20-30 เปอร์เซ็นต์ ของประชากร แต่หลังจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ (ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2540 ซึ่งประกาศลอยตัวค่าเงินบาท) เป็นต้นมา การสอบถามโดยใช้แบบสอบถามประชาชนทั่วไป จะรู้สึกเครียดมากขึ้นเป็น 40-60 เปอร์เซ็นต์ แล้วแต่อาชีพ ซึ่งถ้าดูแล้วคนที่ไม่เครียด นอกจากเด็กที่ไม่รู้เรื่องอะไรแล้ว ก็เห็นจะเป็นผู้ใหญ่ หรือคนแก่ที่สมองเสื่อม หรือไม่รับรู้อะไรแล้ว   มีบางท่านอาจจะคิดว่า ขนาดของปัญหาจะสัมพันธ์กับความเครียดที่เกิดขึ้น ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วไม่เป็นเช่นนั้น เราอาจจะเห็นผู้ที่ติดหนี้ธนาคาร 3,000 ล้านบาท กินได้ นอนหลับ ในขณะที่ผู้ที่ถูกทวงเงิน
ไม่กี่พันบาทมีอาการเครียดกินไม่ได้นอนไม่หลับ ดังนั้น คนที่จะเอาตัวรอดจากความเครียดได้ ต้องรู้จักจัดการกับความเครียดนั้น ซึ่งโดยความหมายแล้ว การจัดการไม่ได้หมายความว่าให้เราขจัดความเครียดให้หมดไป แต่หมายถึงวิธีการที่เราจะอยู่กับความเครียดของเราให้ได้  
 

สร้างโดย: 
ส้มจี๊ด

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 498 คน กำลังออนไลน์