• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a508385a059d05e7c6f3fcd3cfadb79c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3.6 ควบคุมภาวะมลพิษจากแหล่งกำเนิดประเภทต่างๆ ได้แก่ ชุมชนและอุตสาหกรรม โดยการควบคุมน้ำทิ้งให้เป็นไปตามมาตรฐาน</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3.7 การลดภาวะมลพิษจากแหล่งกำเนิด ได้แก่ การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีหรือการผลิตที่สะอาดและนำของเสียไปใช้ให้เกิดประโยชน์</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3.8</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ควบคุมการใช้ที่ดินที่ใกล้แหล่งน้ำ ได้แก่ กำหนดแหล่งน้ำดิบเพื่อควบคุมและฟื้นฟู และจัดเขตที่ดินสำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมที่ก่อมลพิษ</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3.9</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ใช้มาตรการให้ผู้ก่อมลพิษต้องเป็นผู้จ่ายค่าบำบัด โดยการส่งเสริมให้มีการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียจากชุมชน</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4.0</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมและสนับสนุนในการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสีย</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4.1</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปรับปรุงกฎหมายและเข้มงวดกับมาตรการที่ให้ภาคอุตสาหกรรมและกิจกรรมพาณิชยกรรมนำน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสียรวม ก่อนปล่อยน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำ</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4.2</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้แทนชุมชน ประชาคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาในพื้นที่</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">       </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>       </span>4.3</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับความรู้และเกิดจิตสำนึกเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะมลพิษทางน้ำอย่างต่อเนื่อง</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">      </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>        </span>4.4 กำหนดให้มีการสร้างระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน โดยต้องสามารถรวบรวมน้ำเสียเข้าสู่ระบบได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">70 </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ของน้ำเสียที่เกิดขึ้น</span>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: 9pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></span></o:p><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\">สรุป<o:p></o:p></span></span></b> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปัญหามลพิษทางน้ำ เป็น 1 ในปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของประเทศ ซึ่งเป็นต้นเหตุของปัญหาต่างๆมากมาย</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และจะส่งผลกระทบต่อประชาชน ตั้งแต่ขั้นอันตรายน้อยจนถึงขั้นอันตรายมาก ทั้งต่อสภาวะร่างกายและจิตใจ สำหรับแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมดังกล่าวนั้นมีมากมายหลายประการในแต่ละปัญหา ซึ่งจะได้ผลมากหรือน้อยนั้นก็ขึ้นอยู่กับความตั้งใจจริง และความเอาจริงเอาจังในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของทั้งภาครัฐบาล ภาคเอกชน และภาคประชาชน</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-size: 9pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">1.7</span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1720412375, expire = 1720498775, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a508385a059d05e7c6f3fcd3cfadb79c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มลพิษทางน้ำ

3.6 ควบคุมภาวะมลพิษจากแหล่งกำเนิดประเภทต่างๆ ได้แก่ ชุมชนและอุตสาหกรรม โดยการควบคุมน้ำทิ้งให้เป็นไปตามมาตรฐาน

3.7 การลดภาวะมลพิษจากแหล่งกำเนิด ได้แก่ การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีหรือการผลิตที่สะอาดและนำของเสียไปใช้ให้เกิดประโยชน์

3.8 ควบคุมการใช้ที่ดินที่ใกล้แหล่งน้ำ ได้แก่ กำหนดแหล่งน้ำดิบเพื่อควบคุมและฟื้นฟู และจัดเขตที่ดินสำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมที่ก่อมลพิษ

3.9 ใช้มาตรการให้ผู้ก่อมลพิษต้องเป็นผู้จ่ายค่าบำบัด โดยการส่งเสริมให้มีการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียจากชุมชน

4.0 ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมและสนับสนุนในการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสีย

4.1 ปรับปรุงกฎหมายและเข้มงวดกับมาตรการที่ให้ภาคอุตสาหกรรมและกิจกรรมพาณิชยกรรมนำน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสียรวม ก่อนปล่อยน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำ

4.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้แทนชุมชน ประชาคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาในพื้นที่

              4.3 รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับความรู้และเกิดจิตสำนึกเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะมลพิษทางน้ำอย่างต่อเนื่อง

              4.4 กำหนดให้มีการสร้างระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน โดยต้องสามารถรวบรวมน้ำเสียเข้าสู่ระบบได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของน้ำเสียที่เกิดขึ้น

สรุป

ปัญหามลพิษทางน้ำ เป็น 1 ในปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของประเทศ ซึ่งเป็นต้นเหตุของปัญหาต่างๆมากมาย

และจะส่งผลกระทบต่อประชาชน ตั้งแต่ขั้นอันตรายน้อยจนถึงขั้นอันตรายมาก ทั้งต่อสภาวะร่างกายและจิตใจ สำหรับแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมดังกล่าวนั้นมีมากมายหลายประการในแต่ละปัญหา ซึ่งจะได้ผลมากหรือน้อยนั้นก็ขึ้นอยู่กับความตั้งใจจริง และความเอาจริงเอาจังในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของทั้งภาครัฐบาล ภาคเอกชน และภาคประชาชน1.7  

 

สร้างโดย: 
น.ส.สุภา จิระกุลสวัสดิ์ และนางสาวเจนจิรา วงษ์ปิ่น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 482 คน กำลังออนไลน์