• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6b291b9d1137c82f53029fcc1e2c4d45' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 9pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\">แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางน้ำ</span></span><o:p></o:p></b> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางน้ำ มีดังนี้</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>3.1 ดูแลควบคุมการระบายน้ำออกจากอาคารบ้านเรือน ให้มีการบำบัดในระดับหนึ่งก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำตามธรรมชาติ เช่น ติดตั้งบ่อหรือถังดักไขมัน บ่อเกรอะหรือบ่อซึมการใช้จุลินทรีย์ เป็นต้น</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>3.2 ให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์แหล่งน้ำ โดยไม่ทิ้งขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลหรือสารเคมีลงในแหล่งน้ำ</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รวมทั้งใช้น้ำอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพมากที่สุด</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>3.3 ไม่ตัดไม้ทำลายป่าอันเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร และลดการใช้สารเคมีต่างๆให้น้อยที่สุด เพราะสารเคมีที่ใช้นั้นเมื่อถูกน้ำฝนชะล้างลงสู่แหล่งน้ำ จะกลายเป็นปัญหามลพิษทางน้ำต่อไป</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>3.4 ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานอื่นๆ ในการพัฒนาแหล่งน้ำ หรือกำจัดน้ำเสีย เช่น เติมก๊าซออกซิเจนในน้ำบ่อ สระที่ไม่ถ่ายเทโดยการใช้กังหันชัยพัฒนา การกำจัดน้ำเสียโดยการปล่อยผักตบลงในแหล่งน้ำ การใช้จุลินทรีย์อีเอ็ม (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">Effective Microorganism</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) ซึ่งหมายถึง กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพให้ประโยชน์ทางเกษตรกรรมและปลอดภัยต่อพืช สัตว์ และสิ่งแวดล้อม ในการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มในการบำบัดแบคทีเรีย ทำได้โดยใช้จุลินทรีย์อีเอ็ม ราดลงไปในแหล่งน้ำที่ต้องการบำบัด โดยใช้จุลินทรีย์อีเอ็ม </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ <st1:metricconverter ProductID=\"200 ลิตร\" w:st=\"on\">200 ลิตร</st1:metricconverter></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">3.5 </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ดำเนินการป้องกันและแก้ไขอย่างเป็นระบบทั้งพื้นที่ลุ่มน้ำ จากต้นน้ำถึงปากแม่น้ำโดยมีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาและการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา</span></p>\n', created = 1720415645, expire = 1720502045, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6b291b9d1137c82f53029fcc1e2c4d45' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มลพิษทางน้ำ

แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางน้ำ

                แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางน้ำ มีดังนี้

                3.1 ดูแลควบคุมการระบายน้ำออกจากอาคารบ้านเรือน ให้มีการบำบัดในระดับหนึ่งก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำตามธรรมชาติ เช่น ติดตั้งบ่อหรือถังดักไขมัน บ่อเกรอะหรือบ่อซึมการใช้จุลินทรีย์ เป็นต้น

                3.2 ให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์แหล่งน้ำ โดยไม่ทิ้งขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลหรือสารเคมีลงในแหล่งน้ำ

รวมทั้งใช้น้ำอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพมากที่สุด

                3.3 ไม่ตัดไม้ทำลายป่าอันเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร และลดการใช้สารเคมีต่างๆให้น้อยที่สุด เพราะสารเคมีที่ใช้นั้นเมื่อถูกน้ำฝนชะล้างลงสู่แหล่งน้ำ จะกลายเป็นปัญหามลพิษทางน้ำต่อไป

                3.4 ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานอื่นๆ ในการพัฒนาแหล่งน้ำ หรือกำจัดน้ำเสีย เช่น เติมก๊าซออกซิเจนในน้ำบ่อ สระที่ไม่ถ่ายเทโดยการใช้กังหันชัยพัฒนา การกำจัดน้ำเสียโดยการปล่อยผักตบลงในแหล่งน้ำ การใช้จุลินทรีย์อีเอ็ม (Effective Microorganism) ซึ่งหมายถึง กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพให้ประโยชน์ทางเกษตรกรรมและปลอดภัยต่อพืช สัตว์ และสิ่งแวดล้อม ในการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มในการบำบัดแบคทีเรีย ทำได้โดยใช้จุลินทรีย์อีเอ็ม ราดลงไปในแหล่งน้ำที่ต้องการบำบัด โดยใช้จุลินทรีย์อีเอ็ม

2 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 200 ลิตร

3.5 ดำเนินการป้องกันและแก้ไขอย่างเป็นระบบทั้งพื้นที่ลุ่มน้ำ จากต้นน้ำถึงปากแม่น้ำโดยมีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาและการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา

สร้างโดย: 
น.ส.สุภา จิระกุลสวัสดิ์ และนางสาวเจนจิรา วงษ์ปิ่น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 422 คน กำลังออนไลน์