• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3d4c03bbb43de4e596d12d6b2cc4ab58' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><o:p></o:p> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 9pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><b><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สาเหตุที่ทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ</span><o:p></o:p></span></b> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">มลพิษทางน้ำหรือน้ำเสียมีสาเหตุดังนี้</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.1 การระบายน้ำจากอาคารบ้านเรือนต่างๆ ซึ่งเป็นน้ำเสียและสกปรกจาการซักล้างอาบ ซึ่งเป็นน้ำที่มีปริมาณออกซิเจนน้อยมาก</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.2 ประชาชนที่อยู่ริมน้ำหรือใช้การสัญจรทางน้ำ ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ และทิ้งขยะต่างๆลงใน</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">แม่น้ำลำคลอง</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>                </span>1.3 โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ปล่อยน้ำเสียลงสู่แม่น้ำโดยตรง และไม่มีการบำบัดให้เป็นน้ำดีก่อน</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>                </span>1.4 การใช้ปุ๋ย ยาปราบศัตรูพืช และยาปราบวัชพืช ทำให้สารเคมีตกค้างอยู่ในน้ำในดิน และถูกชะล้างลงมาปะปนอยู่ในแหล่งน้ำสาธารณะ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">1.5 <span lang=\"TH\">ธรรมชาติ แหล่งน้ำต่างๆ อาจเกิดจากการเน่าเสียได้เองเมื่ออยู่ในภาวะที่ขาดออกซิเจน ส่วนใหญ่มีสาเหตุเกิดจากการเพิ่มจํานวนอย่างรวดเร็วของแพลงค์ตอน แล้วตายลงพร้อม ๆ กันเมื่อ จุลินทรีย์ทําการย่อยสลายซากแพลงค์ตอนทําให์ออกซิเจนในน้ำถูกนําไปใช้</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มาก จนเกิดการขาดแคลนได้ นอกจากนี้การเน่าเสียอาจเกิดได้อีกประการหนึ่งคือ เมื่อน้ำอยู่ในสภาพนิ่งไม่มีการหมุนเวียนถ่ายเท</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1.6 น้ำทิ้ง และสิ่งปฏิกูลจากแหล่งชุมชน ได้แก่ อาคาร บ้านเรือน สํานักงาน อาคารพาณิชย์ โรงแรม เป็นต้น สิ่งปะปนมากับน้ำทิ้งประกอบด้วยสารอินทรีย์ซึ่งจะถูกย่อยสลายโดยผู้ย่อยสลายสาร อินทรีย์ที่สําคัญคือ แบคทีเรีย ซึ่งมีทั้งแบคทีเรียแอโรบิก (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">aerobic bacteria) </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นแบคที่เรียที่ต้องใช้ออกซิเจนอิสระในการย่อยสลายสารอินทรีย์ กับแบคทีเรียแอนาโรบิก (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">anaerobic bacteria) </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นแบคทีเรียที่ยอยสลายสารอินทรีย์ได้โดยไม่ต้องอาศัยออกซิเจนอิสระ อีกชนิดหนึ่งคือ แบคทีเรียแฟคัลเตตีฟ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">facultativebacteria)</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นแบคทีเรียพวกที่สามารถดํารง ชีวิตอยู่ได้ทั้งอาศัยและไม.ต.องอาศัยออกซิเจนอิสระ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณออกซิเจนในสภาวะ แวดล้อมนั้น บทบาทในการย่อยสลายสารเหล่านี้ของแบคทีเรียแอโรบิกต้องใชออกซิเจน ในปริมาณมาก ทําให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำ(ดีโอ </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">DO = dissolved oxygen) </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ลดลงต่ำมาก </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.7 การเกษตร เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทําให้น้ำเสีย เช่น การเลี้ยงสัตว์ เศษอาหารและน้ำทิ้งจากการ ชําระคอกสัตว์ ทิ้งลงสู่แม่น้ำ ลําคลอง ซึ่งก่อให้เกิดโรคระบาด การใช้ปุ๋ยไนเตรตของเกษตรกร เมื่อปุ๋ยลงสู่แหล่งน้ำจะทําให้น้ำมีปริมาณเกลือไนเตรตสูงถ้าดื่มเข้าไปจะทําให้เป็นโรคพิษไนเตรต ไนเตรตจะเปลี่ยนเป็นไนไตรต์แล้วรวมตัวกับฮีโมโกลบินอาจทําให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ นอกจากนี้เกษตรกรนิยมใช้สารกําจัดศัตรูพืชมากขึ้น สารที่ตกค้างตามต้นพืช และตามผิวดิน จะถูกชะล้างไปกับน้ำฝนและไหลลงสู่แหล่งน้ำ สารที่สลายตัวช้าจะสะสมในแหล่งน้ำ นั้นมากขึ้นจนเป็นอันตรายได้</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1.8</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โรงงานอุตสาหกรรม ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงงานปลาป่น โรงงาน ผลิตภัณฑ์นม โรงโม่แป้ง โรงงานทําอาหารกระป๋อง ส่วนใหญ่มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตปนอยู่มากสารอินทรีย์ที่ถูกปล่อยออกมากับน้ำทิ้งนี้ก็จะถูกย่อยสลายทําให้เกิดผล เช่นเดียวกับน้ำทิ้งที่ถูกปล่อยจากชุมชน นอกจากนี้อาจมีสารพิษชนิดอื่นปะปนอยู่ด้วย ขึ้นอยู่กับ ประเภทของโรงงาน เช่นปรอทจากโรงงานผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ซึ่งเป็นสารพิษต่อสัตว์น้ำ และผู้นําสัตว์น้ำไปบริโภคนอกจากนี้น้ำทิ้งจากโรงงานบางประเภท ทําให้สภาพกรดเบส ของแหล่งน้ำนั้นเปลี่ยนไป เช่นน้ำทิ้งจากโรงงานกระดาษมีค่า </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">pH </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สูงมาก น้ำทิ้งจากโรงงาน บางประเภท เช่นจากโรงไฟฟ้าอาจทําให้อุณหภูมิของน้ำเปลี่ยนแปลงไป สภาพเช่นนี้ไม่ เหมาะกับการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิตในน้ำ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1.9</span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การคมนาคมทางน้ำ ในการเดินเรือตามแหล่งน้ำ ลําคลอง ทะเล มหาสมุทร มีการทิ้งของ เสียที่ประกอบด้วยสารอินทรีย์ และน้ำมันเชื้อเพลิงถ้ามีโอกาสรั่วไหลลงน้ำได้และมีจํานวนมาก ก็จะทําให้สัตว์น้ำขาดออกซิเจน และเป็นผลเสียต่อระบบนิเวศ</span></span>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: 9pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Times New Roman\'\"><span> </span><span>           </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">*คุณสมบัติของน้ำที่ดีก็คือ มีออกซิเจนละลายปนอยู่ในน้ำมาก ซึ่งเรียกว่า </span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Times New Roman\'\">Dissolved Oxygen </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">(</span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Times New Roman\'\">DO</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) ซึ่งมีหน่วยวัดความสะอาดของน้ำเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร (</span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Times New Roman\'\">Mg/l</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) จะเป็นดัชนีแสดงให้ทราบถึงความสกปรกของน้ำว่ามากน้องเพียงใด ซึ่งมาตรฐานโดยทั่วไปของค่า </span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Times New Roman\'\">DO</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ต้องไม่ต่ำกว่า 4 </span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Times New Roman\'\">Mg/l</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> สำหรับน้ำดื่มจะต้องมีจำนวนโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (</span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Times New Roman\'\">Coliform Bacteria</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">) ไม่เกิน 1 ตัวต่อน้ำ 100 มิลลิลิตร(10 ซีซี)</span></span></p>\n', created = 1720414449, expire = 1720500849, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3d4c03bbb43de4e596d12d6b2cc4ab58' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มลพิษทางน้ำ

สาเหตุที่ทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ

มลพิษทางน้ำหรือน้ำเสียมีสาเหตุดังนี้

1.1 การระบายน้ำจากอาคารบ้านเรือนต่างๆ ซึ่งเป็นน้ำเสียและสกปรกจาการซักล้างอาบ ซึ่งเป็นน้ำที่มีปริมาณออกซิเจนน้อยมาก

1.2 ประชาชนที่อยู่ริมน้ำหรือใช้การสัญจรทางน้ำ ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ และทิ้งขยะต่างๆลงใน

แม่น้ำลำคลอง

                1.3 โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ปล่อยน้ำเสียลงสู่แม่น้ำโดยตรง และไม่มีการบำบัดให้เป็นน้ำดีก่อน

                1.4 การใช้ปุ๋ย ยาปราบศัตรูพืช และยาปราบวัชพืช ทำให้สารเคมีตกค้างอยู่ในน้ำในดิน และถูกชะล้างลงมาปะปนอยู่ในแหล่งน้ำสาธารณะ

1.5 ธรรมชาติ แหล่งน้ำต่างๆ อาจเกิดจากการเน่าเสียได้เองเมื่ออยู่ในภาวะที่ขาดออกซิเจน ส่วนใหญ่มีสาเหตุเกิดจากการเพิ่มจํานวนอย่างรวดเร็วของแพลงค์ตอน แล้วตายลงพร้อม ๆ กันเมื่อ จุลินทรีย์ทําการย่อยสลายซากแพลงค์ตอนทําให์ออกซิเจนในน้ำถูกนําไปใช้มาก จนเกิดการขาดแคลนได้ นอกจากนี้การเน่าเสียอาจเกิดได้อีกประการหนึ่งคือ เมื่อน้ำอยู่ในสภาพนิ่งไม่มีการหมุนเวียนถ่ายเท

1.6 น้ำทิ้ง และสิ่งปฏิกูลจากแหล่งชุมชน ได้แก่ อาคาร บ้านเรือน สํานักงาน อาคารพาณิชย์ โรงแรม เป็นต้น สิ่งปะปนมากับน้ำทิ้งประกอบด้วยสารอินทรีย์ซึ่งจะถูกย่อยสลายโดยผู้ย่อยสลายสาร อินทรีย์ที่สําคัญคือ แบคทีเรีย ซึ่งมีทั้งแบคทีเรียแอโรบิก (aerobic bacteria) เป็นแบคที่เรียที่ต้องใช้ออกซิเจนอิสระในการย่อยสลายสารอินทรีย์ กับแบคทีเรียแอนาโรบิก (anaerobic bacteria) เป็นแบคทีเรียที่ยอยสลายสารอินทรีย์ได้โดยไม่ต้องอาศัยออกซิเจนอิสระ อีกชนิดหนึ่งคือ แบคทีเรียแฟคัลเตตีฟ (facultativebacteria)เป็นแบคทีเรียพวกที่สามารถดํารง ชีวิตอยู่ได้ทั้งอาศัยและไม.ต.องอาศัยออกซิเจนอิสระ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณออกซิเจนในสภาวะ แวดล้อมนั้น บทบาทในการย่อยสลายสารเหล่านี้ของแบคทีเรียแอโรบิกต้องใชออกซิเจน ในปริมาณมาก ทําให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำ(ดีโอ DO = dissolved oxygen) ลดลงต่ำมาก

1.7 การเกษตร เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทําให้น้ำเสีย เช่น การเลี้ยงสัตว์ เศษอาหารและน้ำทิ้งจากการ ชําระคอกสัตว์ ทิ้งลงสู่แม่น้ำ ลําคลอง ซึ่งก่อให้เกิดโรคระบาด การใช้ปุ๋ยไนเตรตของเกษตรกร เมื่อปุ๋ยลงสู่แหล่งน้ำจะทําให้น้ำมีปริมาณเกลือไนเตรตสูงถ้าดื่มเข้าไปจะทําให้เป็นโรคพิษไนเตรต ไนเตรตจะเปลี่ยนเป็นไนไตรต์แล้วรวมตัวกับฮีโมโกลบินอาจทําให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ นอกจากนี้เกษตรกรนิยมใช้สารกําจัดศัตรูพืชมากขึ้น สารที่ตกค้างตามต้นพืช และตามผิวดิน จะถูกชะล้างไปกับน้ำฝนและไหลลงสู่แหล่งน้ำ สารที่สลายตัวช้าจะสะสมในแหล่งน้ำ นั้นมากขึ้นจนเป็นอันตรายได้

1.8 โรงงานอุตสาหกรรม ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงงานปลาป่น โรงงาน ผลิตภัณฑ์นม โรงโม่แป้ง โรงงานทําอาหารกระป๋อง ส่วนใหญ่มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตปนอยู่มากสารอินทรีย์ที่ถูกปล่อยออกมากับน้ำทิ้งนี้ก็จะถูกย่อยสลายทําให้เกิดผล เช่นเดียวกับน้ำทิ้งที่ถูกปล่อยจากชุมชน นอกจากนี้อาจมีสารพิษชนิดอื่นปะปนอยู่ด้วย ขึ้นอยู่กับ ประเภทของโรงงาน เช่นปรอทจากโรงงานผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ซึ่งเป็นสารพิษต่อสัตว์น้ำ และผู้นําสัตว์น้ำไปบริโภคนอกจากนี้น้ำทิ้งจากโรงงานบางประเภท ทําให้สภาพกรดเบส ของแหล่งน้ำนั้นเปลี่ยนไป เช่นน้ำทิ้งจากโรงงานกระดาษมีค่า pH สูงมาก น้ำทิ้งจากโรงงาน บางประเภท เช่นจากโรงไฟฟ้าอาจทําให้อุณหภูมิของน้ำเปลี่ยนแปลงไป สภาพเช่นนี้ไม่ เหมาะกับการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิตในน้ำ

1.9 การคมนาคมทางน้ำ ในการเดินเรือตามแหล่งน้ำ ลําคลอง ทะเล มหาสมุทร มีการทิ้งของ เสียที่ประกอบด้วยสารอินทรีย์ และน้ำมันเชื้อเพลิงถ้ามีโอกาสรั่วไหลลงน้ำได้และมีจํานวนมาก ก็จะทําให้สัตว์น้ำขาดออกซิเจน และเป็นผลเสียต่อระบบนิเวศ

 

            *คุณสมบัติของน้ำที่ดีก็คือ มีออกซิเจนละลายปนอยู่ในน้ำมาก ซึ่งเรียกว่า Dissolved Oxygen (DO) ซึ่งมีหน่วยวัดความสะอาดของน้ำเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร (Mg/l) จะเป็นดัชนีแสดงให้ทราบถึงความสกปรกของน้ำว่ามากน้องเพียงใด ซึ่งมาตรฐานโดยทั่วไปของค่า DO ต้องไม่ต่ำกว่า 4 Mg/l สำหรับน้ำดื่มจะต้องมีจำนวนโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Coliform Bacteria) ไม่เกิน 1 ตัวต่อน้ำ 100 มิลลิลิตร(10 ซีซี)

สร้างโดย: 
น.ส.สุภา จิระกุลสวัสดิ์ และนางสาวเจนจิรา วงษ์ปิ่น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 461 คน กำลังออนไลน์