• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:17db3409d17e8904b6c3010da8ce7e67' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มลพิษทางน้ำ(</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">Water Pollution</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)</span><o:p></o:p></b></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มลพิษทางน้ำหรือน้ำเสีย</span></b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> หมายถึง น้ำที่ไม่สะอาดเพราะมีสิ่งเจือปนต่างๆ เช่น มีสี มีความขุ่น มีสารเคมี แร่ธาตุ ก๊าซพิษหรือเชื้อโรคปะปนอยู่ เป็น</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ต้น <span class=\"menu1\">หรือ</span>สภาวะที่น้ำมีคุณภาพเปลี่ยนไปจากธรรมชาติเดิม จนมีสภาพที่เลวลง และส่งผลต่อการดำรงชีวิต</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"> <b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ลักษณะของภาวะมลพิษทางน้ำ</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">1. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีสารอินทรีย์ปนอยู่มาก จุลินทรีย์ที่มีอยู่ก็จะมีการเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็วโดยมีการใช้ออกซิเจน จึงมีผลทำให้ปริมาณออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเหลือน้อย ในบางครั้งจะเห็นน้ำมีสีดำคล้ำ และส่งกลิ่นเหม็น เนื่องจากการย่อยสลายของแบคทีเรียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนมีการปล่อยก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ หรือก๊าซไข่เน่าออกมา</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span>2. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีเชื้อโรคหรือจุลินทรีย์ ได้แก่ เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ โปรโตซัว เชื้อรา ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดโรคต่างๆ เช่น โรคทางเดินอาหาร โรคตับ โรคพยาธิและโรคผิวหนัง เป็นต้น</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span>3. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีคราบน้ำมันหรือไขมันเจือปนในปริมาณมากจะเป็นอุปสรรคต่อการถ่ายเทออกซิเจนลงสู่แหล่ง</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">น้ำ หรือการดำรงชีวิตของสัตว์และพืชน้ำ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">4. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีเกลือละลาย ซึ่งอาจละลายจากดินลงมาหรือน้ำทะเลไหลซึมเข้ามาเจือปนจนน้ำเสื่อมคุณภาพไม่เหมาะในการใช้อุปโภค บริโภคหรือการเกษตรกรรม</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">5. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีสารพิษเจือปน เช่น สารประกอบของปรอท ตะกั่ว แคดเมียม สารหนู เมื่ออยู่ในระดับอันตรายจะส่งผลต่อสัตว์น้ำและคนได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น บริโภคพืชผัก สัตว์น้ำ</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span>6. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีสารกัมมันตภาพรังสีเจือปน อาจเกิดขึ้นได้จากธรรมชาติจากการสลายตัวของแร่หินหรือเกิดจากโรงงานนิวเคลียร์ปล่อยน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำ</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">7. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีสารแขวนลอย ได้แก่ น้ำที่มีสิ่งต่างๆ แขวนลอยอยู่จำนวนมาก ทำให้น้ำมีสภาพเปลี่ยนไปจากเดิม เกี่ยวกับความโปร่งแสง สี เป็นต้น</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span>8. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีอุณหภูมิสูง ส่วนใหญ่เกิดจากการระบายน้ำหล่อเย็นจากโรงงานอุตสาหกรรมลงสู่แหล่งน้ำ ซึ่งอุณหภูมิที่สูงขึ้นจะมีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตและการแพร่พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตในน้ำ</span></span></span></p>\n', created = 1720412683, expire = 1720499083, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:17db3409d17e8904b6c3010da8ce7e67' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มลพิษทางน้ำ

 

มลพิษทางน้ำ(Water Pollution)

มลพิษทางน้ำหรือน้ำเสีย หมายถึง น้ำที่ไม่สะอาดเพราะมีสิ่งเจือปนต่างๆ เช่น มีสี มีความขุ่น มีสารเคมี แร่ธาตุ ก๊าซพิษหรือเชื้อโรคปะปนอยู่ เป็นต้น หรือสภาวะที่น้ำมีคุณภาพเปลี่ยนไปจากธรรมชาติเดิม จนมีสภาพที่เลวลง และส่งผลต่อการดำรงชีวิต

 ลักษณะของภาวะมลพิษทางน้ำ 1. น้ำที่มีสารอินทรีย์ปนอยู่มาก จุลินทรีย์ที่มีอยู่ก็จะมีการเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็วโดยมีการใช้ออกซิเจน จึงมีผลทำให้ปริมาณออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเหลือน้อย ในบางครั้งจะเห็นน้ำมีสีดำคล้ำ และส่งกลิ่นเหม็น เนื่องจากการย่อยสลายของแบคทีเรียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนมีการปล่อยก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ หรือก๊าซไข่เน่าออกมา  2. น้ำที่มีเชื้อโรคหรือจุลินทรีย์ ได้แก่ เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ โปรโตซัว เชื้อรา ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดโรคต่างๆ เช่น โรคทางเดินอาหาร โรคตับ โรคพยาธิและโรคผิวหนัง เป็นต้น  3. น้ำที่มีคราบน้ำมันหรือไขมันเจือปนในปริมาณมากจะเป็นอุปสรรคต่อการถ่ายเทออกซิเจนลงสู่แหล่ง น้ำ หรือการดำรงชีวิตของสัตว์และพืชน้ำ 4. น้ำที่มีเกลือละลาย ซึ่งอาจละลายจากดินลงมาหรือน้ำทะเลไหลซึมเข้ามาเจือปนจนน้ำเสื่อมคุณภาพไม่เหมาะในการใช้อุปโภค บริโภคหรือการเกษตรกรรม 5. น้ำที่มีสารพิษเจือปน เช่น สารประกอบของปรอท ตะกั่ว แคดเมียม สารหนู เมื่ออยู่ในระดับอันตรายจะส่งผลต่อสัตว์น้ำและคนได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น บริโภคพืชผัก สัตว์น้ำ  6. น้ำที่มีสารกัมมันตภาพรังสีเจือปน อาจเกิดขึ้นได้จากธรรมชาติจากการสลายตัวของแร่หินหรือเกิดจากโรงงานนิวเคลียร์ปล่อยน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำ 7. น้ำที่มีสารแขวนลอย ได้แก่ น้ำที่มีสิ่งต่างๆ แขวนลอยอยู่จำนวนมาก ทำให้น้ำมีสภาพเปลี่ยนไปจากเดิม เกี่ยวกับความโปร่งแสง สี เป็นต้น  8. น้ำที่มีอุณหภูมิสูง ส่วนใหญ่เกิดจากการระบายน้ำหล่อเย็นจากโรงงานอุตสาหกรรมลงสู่แหล่งน้ำ ซึ่งอุณหภูมิที่สูงขึ้นจะมีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตและการแพร่พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตในน้ำ

สร้างโดย: 
น.ส.สุภา จิระกุลสวัสดิ์ และนางสาวเจนจิรา วงษ์ปิ่น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 462 คน กำลังออนไลน์