• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d71e8ba89977e180d8b8c4392724230b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>         เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ . ศ . 2519 เป็นเวลา 7 ปีหลังจากที่ นีล อาร์มสตรอง เหยียบดวงจันทร์ ต่อจากนั้นอีก 2 เดือน ยานไวกิ้ง 2 ก็ลงในที่ราบทางเหนือชือที่ราบยูโทเปีย(Utopia) ยานทั้งสองมีแขนกลยื่นออกไปตักดินบนดาวอังคารมาวิเคราะห์ภายในยาน เพื่อค้นหาสิ่งมีชีวิตหรือซากของสิ่งมีชีวิตแต่การวิเคราะห์ไม่ยืนยันว่ามีหรือเคยมีสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคารต่อจากยานไวกิ้งคือ ยานมาร์สพาธไฟเดอร์ ที่นำรถโซเจนเนอร์ไปด้วย ยานได้ลงบนพื้นผิวดาวอังคารเมื่อเดือนกรกฏาคม พ.ศ. 2540 ภาพที่น่าตื่นเต้นคือการติดตามรถคันเล็กๆ เคลื่อนที่สำรวจก้อนหินใกล้ฐานซึ่ง ต่อมาได้รับชื่อว่า &quot;ฐานเซแกน&quot; <br />\n <br />\n          ภาพก้อนหินที่เรียงในทิศทางเดียวกันชี้ให้ เห็นว่าบนดาวอังคารเคยมีน้ำไหลมาก่อน ล่าสุดยานมาร์สโกลบอล เซอร์เวเยอร์ซึ่งกำลังเคลื่อนรอบดาวอังคารได้ส่งภาพหุบเหวที่เป็นร่องลึกหรือที่เรียกว่า แคนยอนซึ่งคดเคี้ยวไปมาในอนาคตสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น มีโครงการที่จะส่งยานอวกาศไปเก็บดินจากดาวอังคารกลับมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการบนโลกและอีกไม่นานมนุษย์จะเดินทางไปดาวอังคารเช่นเดียวกับการลงบนดวงจันทร์ เมื่อ พ . ศ . 2512   <br />\n <br />\nข้อมูลจำเพาะของดาวอังคาร <br />\n  ระยะห่างจากดวงอาทิตย์  : 227,936,640 ก.ม. 1.52366231 A.U.  <br />\n  หมุนรอบตัวเอง  : 1.02595675 วัน  <br />\n  หมุนรอบดวงอาทิตย์  : 686.98 วัน  <br />\n  เส้นผ่านศูนย์กลาง  : 6,794 ก.ม. (0.5326 เท่าของโลก)  <br />\n  ปริมาตร  : 0.149 เท่าของโลก  <br />\n  มวล  : 6.4191 * 1023 ก.ก.  <br />\n  ความหนาแน่น  : 3,940 ก.ก./ ม. 3  <br />\n  ความเร่งที่พื้นผิว  : 371 ซ.ม./ วินาที 2  <br />\n  ความเร็วเฉลี่ย  : 24.1309 ก.ม ./ วินาที  <br />\n  ความเร็วการผละหนี  : 5.02 ก.ม./ วินาที  <br />\n  ความรีของวงโคจร  : 0.09341233  <br />\n  ความเอียงระนาบวงโคจร  : 1.85061 องศา  <br />\n  ความเอียงของแกนหมุน  : 25.19 องศา  <br />\n  อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ย  : 186 - 268 องศาเคลวิน  <br />\n  ก๊าซในชั้นบรรยากาศ  : Carbondioxide (CO2) 95%<br />\nNitrogen (N2) 3 Nitrogen (N2) 3%<br />\nArgon (Ar) 1.6% <br />\n <br />\n  ดาวบริวาร  : 1. Phobos 2. Deimos  <br />\n \n</p>\n<p>\n<br />\n  <a href=\"/node/43260\">กลับหน้าแรก</a>                                                                                                                               <a href=\"/node/46892\">หน้าต่อไป</a>\n</p>\n', created = 1729582196, expire = 1729668596, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d71e8ba89977e180d8b8c4392724230b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาวอังคาร

        เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ . ศ . 2519 เป็นเวลา 7 ปีหลังจากที่ นีล อาร์มสตรอง เหยียบดวงจันทร์ ต่อจากนั้นอีก 2 เดือน ยานไวกิ้ง 2 ก็ลงในที่ราบทางเหนือชือที่ราบยูโทเปีย(Utopia) ยานทั้งสองมีแขนกลยื่นออกไปตักดินบนดาวอังคารมาวิเคราะห์ภายในยาน เพื่อค้นหาสิ่งมีชีวิตหรือซากของสิ่งมีชีวิตแต่การวิเคราะห์ไม่ยืนยันว่ามีหรือเคยมีสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคารต่อจากยานไวกิ้งคือ ยานมาร์สพาธไฟเดอร์ ที่นำรถโซเจนเนอร์ไปด้วย ยานได้ลงบนพื้นผิวดาวอังคารเมื่อเดือนกรกฏาคม พ.ศ. 2540 ภาพที่น่าตื่นเต้นคือการติดตามรถคันเล็กๆ เคลื่อนที่สำรวจก้อนหินใกล้ฐานซึ่ง ต่อมาได้รับชื่อว่า "ฐานเซแกน" 
 
          ภาพก้อนหินที่เรียงในทิศทางเดียวกันชี้ให้ เห็นว่าบนดาวอังคารเคยมีน้ำไหลมาก่อน ล่าสุดยานมาร์สโกลบอล เซอร์เวเยอร์ซึ่งกำลังเคลื่อนรอบดาวอังคารได้ส่งภาพหุบเหวที่เป็นร่องลึกหรือที่เรียกว่า แคนยอนซึ่งคดเคี้ยวไปมาในอนาคตสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น มีโครงการที่จะส่งยานอวกาศไปเก็บดินจากดาวอังคารกลับมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการบนโลกและอีกไม่นานมนุษย์จะเดินทางไปดาวอังคารเช่นเดียวกับการลงบนดวงจันทร์ เมื่อ พ . ศ . 2512  
 
ข้อมูลจำเพาะของดาวอังคาร
  ระยะห่างจากดวงอาทิตย์  : 227,936,640 ก.ม. 1.52366231 A.U. 
  หมุนรอบตัวเอง  : 1.02595675 วัน 
  หมุนรอบดวงอาทิตย์  : 686.98 วัน 
  เส้นผ่านศูนย์กลาง  : 6,794 ก.ม. (0.5326 เท่าของโลก) 
  ปริมาตร  : 0.149 เท่าของโลก 
  มวล  : 6.4191 * 1023 ก.ก. 
  ความหนาแน่น  : 3,940 ก.ก./ ม. 3 
  ความเร่งที่พื้นผิว  : 371 ซ.ม./ วินาที 2 
  ความเร็วเฉลี่ย  : 24.1309 ก.ม ./ วินาที 
  ความเร็วการผละหนี  : 5.02 ก.ม./ วินาที 
  ความรีของวงโคจร  : 0.09341233 
  ความเอียงระนาบวงโคจร  : 1.85061 องศา 
  ความเอียงของแกนหมุน  : 25.19 องศา 
  อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ย  : 186 - 268 องศาเคลวิน 
  ก๊าซในชั้นบรรยากาศ  : Carbondioxide (CO2) 95%
Nitrogen (N2) 3 Nitrogen (N2) 3%
Argon (Ar) 1.6%
 
  ดาวบริวาร  : 1. Phobos 2. Deimos 
 


  กลับหน้าแรก                                                                                                                               หน้าต่อไป

สร้างโดย: 
นางสาว สุดารัตน์ ธัญรัตนมงคล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 419 คน กำลังออนไลน์