• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e1c4b41aac0acf52a89f99f15d04931c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\">ประเทศไทยไม่มีการระบาดของโรคไข้หวัดนกมาก่อน จากข้อมูลระบุว่าสัตว์รังโรคหรือเป็นพาหะของโรคไข้หวัดนก ได้แก่ นกเป็ดน้ำ นกอพยพ หรือนกตามธรรมชาติซึ่งเป็นแหล่งรังโรค โดยไม่แสดงอาการเมื่อสัตว์เหล่านี้บินผ่านประเทศต่างๆ หรืออพยพเข้าไปอาศัยอยู่ในพื้นที่ประเทศนั้นๆ จะนำเชื้อไวรัสตัวนี้เข้าไปด้วย เมื่อเชื้อไวรัสถูกขับถ่ายออกมาทางอุจจาระจะติดต่อไปยังสัตว์ปีกต่างๆ อาทิ เป็ด ไก่ ในฟาร์ม หรือในบ้านที่ได้รับเชื้อจากระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร</span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">เมื่อเป็ด ไก่ในฟาร์มและในบ้านติดเชื้อจะแสดงอาการ โดยเชื้อไวรัสตัวนี้มีระยะฟักตัวสั้นเพียงไม่กี่ชั่วโมง-3 วัน</span> <span style=\"color: #000000\">เมื่อได้รับเชื้อเข้าไป เป็ด ไก่ จะมีอาการซึม ซูบผอม ไม่กินอาหาร ขนยุ่ง ไข่ลด ไอ จาม หายใจลำบาก หน้าบวม หงอนและเหนียงบวม มีสีคล้ำ มีอาการทางประสาทท้องเสียอาจตายกะทันหันโดยไม่แสดงอาการ อัตราการตายอาจสูงถึง 100</span><span style=\"color: #000000\">%</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">การติดต่อ / อาการ</span></strong><span style=\"color: #990000\"><span style=\"color: #000000\">การติดต่อระหว่างสัตว์สู่คน คนสามารถติดเชื้อจากสัตว์ได้โดยตรงจากการสัมผัสสัตว์ป่วยโดยตรง และโดยทางอ้อมจากการสัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งจากสัตว์ที่เป็นโรค เช่น อุจจาระ น้ำมูก น้ำตา น้ำลายของสัตว์ป่วย จากการเฝ้าระวังโรคยังไม่มีการติดต่อระหว่างคนและคน</span><span style=\"color: #000000\"> <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u17169/H5N102.gif\" height=\"91\" style=\"width: 492px; height: 91px\" /></span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #006600\">ผู้ที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรค </span><span style=\"color: #000000\">ได้แก่ ผู้ที่มีอาชีพและใกล้ชิดสัตว์ปีก เช่น ผู้เลี้ยง ฆ่า ขนส่ง ขนย้าย ผู้ขายสัตว์ปีกและซากสัตว์ปีก สัตวบาล และสัตวแพทย์ <span style=\"color: #006600\">ระยะฟักตัวในคนสั้นประมาณ 1-3 วัน <span style=\"color: #000000\">ในคนอาจมีอาการทางระบบทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน มีไข้สูงมากกว่า 38 องศาและมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ปวดกล้ามเนื้อ หายใจผิดปกติ หนาวสั่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย มีน้ำมูก ไอและเจ็บคอ บางครั้งพบว่ามีอาการตาแดงซึ่งจะหายเองได้ภายใน 2-7 วัน หากมีอาการแทรกซ้อนจะมีอาการรุนแรงถึงปอดบวมได้ โดยเฉพาะในเด็กและผู้สูงอายุ เพื่อความปลอดภัย ผู้บริโภคไก่ ไข่ไก่ หรือผลิตภัณฑ์จากไก่ ควรรับประทานที่ปรุงสุกแล้วเท่านั้น ไม่ควรรับประทานที่ปรุงสุกๆ ดิบๆ ส่วนเกษตรกรและผู้ชำแหละไก่ควรใช้อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย เช่น พลาสติก ผ้ากันเปื้อน ผ้าปิดจมูก ถุงมือ แว่นตา รองเท้าบู๊ต และต้องหมั่นล้างมือบ่อยๆ รวมทั้งอาบน้ำชำระร่างกายด้วยน้ำและสบู่ให้สะอาดเปลี่ยนเสื้อผ้าทุกครั้งหลังปฏิบัติงานเสร็จหากมีอาการไม่สบาย เช่น มีไข้ ปวดศีรษะ หนาว สั่น เจ็บคอ ไอ ต้องรีบปรึกษาแพทย์ทันที<span style=\"color: #990000\">การรักษา</span><span style=\"color: #990000\"> </span></span></span></span><span style=\"color: #006600\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #006600\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #990000\"><span style=\"color: #006600\">สำหรับการตรวจวิเคราะห์ว่า ผู้ป่วยเป็นโรคไข้หวัดนกหรือไม่นั้น จะต้องเก็บตัวอย่างเสมหะ <span style=\"color: #000000\">น้ำมูก น้ำลายจากผู้ป่วย และผู้ที่สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วย มาตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งเจาะเลือดมาตรวจ เพื่อให้การศึกษาครบถ้วนกระบวนความ จากนั้นประมาณ 3 สัปดาห์ จะต้องไปเจาะเลือดมาตรวจเป็นครั้งที่ 2 เพื่อดูว่าผู้ที่ได้รับเชื้อแล้วไม่ปรากฎอาการมีหรือไม่ และดูอีกว่ายีนของเชื้อไวรัสไข้หวัดนกไปผสมพันธุ์กับไข้หวัดใหญ่ตัวอื่นหรือไม่ ถ้าเชื้อทั้งสองผสมพันธุ์กัน ก็จะมีความสามารถสูงขึ้นที่จะติดต่อจากคนสู่คน<span style=\"color: #990000\">ยาที่ใช้ในการรักษาโรคไข้หวัดนกนั้น <span style=\"color: #000000\">มีเพียง 2 ชนิดที่มีการพิสูจน์ว่าสามารถทำลายเชื้อไวรัสได้ คือ <span>Rimantadine</span> และ <span>Amantadine</span> โดยยาดังกล่าวมีราคาค่อนข้างสูง</span></span></span></span></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #006600\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #006600\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #990000\"><span style=\"color: #006600\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #990000\"><span style=\"color: #000000\"><a href=\"/node/39658\">&lt; กลับสู่หน้าหลัก</a> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n', created = 1715457336, expire = 1715543736, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e1c4b41aac0acf52a89f99f15d04931c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไข้หวัดนก มหันตภัยไวรัส H5N1 จากไก่สู่คน

ประเทศไทยไม่มีการระบาดของโรคไข้หวัดนกมาก่อน จากข้อมูลระบุว่าสัตว์รังโรคหรือเป็นพาหะของโรคไข้หวัดนก ได้แก่ นกเป็ดน้ำ นกอพยพ หรือนกตามธรรมชาติซึ่งเป็นแหล่งรังโรค โดยไม่แสดงอาการเมื่อสัตว์เหล่านี้บินผ่านประเทศต่างๆ หรืออพยพเข้าไปอาศัยอยู่ในพื้นที่ประเทศนั้นๆ จะนำเชื้อไวรัสตัวนี้เข้าไปด้วย เมื่อเชื้อไวรัสถูกขับถ่ายออกมาทางอุจจาระจะติดต่อไปยังสัตว์ปีกต่างๆ อาทิ เป็ด ไก่ ในฟาร์ม หรือในบ้านที่ได้รับเชื้อจากระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร

เมื่อเป็ด ไก่ในฟาร์มและในบ้านติดเชื้อจะแสดงอาการ โดยเชื้อไวรัสตัวนี้มีระยะฟักตัวสั้นเพียงไม่กี่ชั่วโมง-3 วัน เมื่อได้รับเชื้อเข้าไป เป็ด ไก่ จะมีอาการซึม ซูบผอม ไม่กินอาหาร ขนยุ่ง ไข่ลด ไอ จาม หายใจลำบาก หน้าบวม หงอนและเหนียงบวม มีสีคล้ำ มีอาการทางประสาทท้องเสียอาจตายกะทันหันโดยไม่แสดงอาการ อัตราการตายอาจสูงถึง 100%

การติดต่อ / อาการการติดต่อระหว่างสัตว์สู่คน คนสามารถติดเชื้อจากสัตว์ได้โดยตรงจากการสัมผัสสัตว์ป่วยโดยตรง และโดยทางอ้อมจากการสัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งจากสัตว์ที่เป็นโรค เช่น อุจจาระ น้ำมูก น้ำตา น้ำลายของสัตว์ป่วย จากการเฝ้าระวังโรคยังไม่มีการติดต่อระหว่างคนและคน

ผู้ที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรค ได้แก่ ผู้ที่มีอาชีพและใกล้ชิดสัตว์ปีก เช่น ผู้เลี้ยง ฆ่า ขนส่ง ขนย้าย ผู้ขายสัตว์ปีกและซากสัตว์ปีก สัตวบาล และสัตวแพทย์ ระยะฟักตัวในคนสั้นประมาณ 1-3 วัน ในคนอาจมีอาการทางระบบทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน มีไข้สูงมากกว่า 38 องศาและมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ปวดกล้ามเนื้อ หายใจผิดปกติ หนาวสั่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย มีน้ำมูก ไอและเจ็บคอ บางครั้งพบว่ามีอาการตาแดงซึ่งจะหายเองได้ภายใน 2-7 วัน หากมีอาการแทรกซ้อนจะมีอาการรุนแรงถึงปอดบวมได้ โดยเฉพาะในเด็กและผู้สูงอายุ เพื่อความปลอดภัย ผู้บริโภคไก่ ไข่ไก่ หรือผลิตภัณฑ์จากไก่ ควรรับประทานที่ปรุงสุกแล้วเท่านั้น ไม่ควรรับประทานที่ปรุงสุกๆ ดิบๆ ส่วนเกษตรกรและผู้ชำแหละไก่ควรใช้อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย เช่น พลาสติก ผ้ากันเปื้อน ผ้าปิดจมูก ถุงมือ แว่นตา รองเท้าบู๊ต และต้องหมั่นล้างมือบ่อยๆ รวมทั้งอาบน้ำชำระร่างกายด้วยน้ำและสบู่ให้สะอาดเปลี่ยนเสื้อผ้าทุกครั้งหลังปฏิบัติงานเสร็จหากมีอาการไม่สบาย เช่น มีไข้ ปวดศีรษะ หนาว สั่น เจ็บคอ ไอ ต้องรีบปรึกษาแพทย์ทันทีการรักษา สำหรับการตรวจวิเคราะห์ว่า ผู้ป่วยเป็นโรคไข้หวัดนกหรือไม่นั้น จะต้องเก็บตัวอย่างเสมหะ น้ำมูก น้ำลายจากผู้ป่วย และผู้ที่สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วย มาตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งเจาะเลือดมาตรวจ เพื่อให้การศึกษาครบถ้วนกระบวนความ จากนั้นประมาณ 3 สัปดาห์ จะต้องไปเจาะเลือดมาตรวจเป็นครั้งที่ 2 เพื่อดูว่าผู้ที่ได้รับเชื้อแล้วไม่ปรากฎอาการมีหรือไม่ และดูอีกว่ายีนของเชื้อไวรัสไข้หวัดนกไปผสมพันธุ์กับไข้หวัดใหญ่ตัวอื่นหรือไม่ ถ้าเชื้อทั้งสองผสมพันธุ์กัน ก็จะมีความสามารถสูงขึ้นที่จะติดต่อจากคนสู่คนยาที่ใช้ในการรักษาโรคไข้หวัดนกนั้น มีเพียง 2 ชนิดที่มีการพิสูจน์ว่าสามารถทำลายเชื้อไวรัสได้ คือ Rimantadine และ Amantadine โดยยาดังกล่าวมีราคาค่อนข้างสูง

< กลับสู่หน้าหลัก 

สร้างโดย: 
นายฌัฐพล ชัยศรี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 244 คน กำลังออนไลน์