• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b2250412e2e3167fe01cd9e64dfaaac7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><u><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19775/31162_628528.gif\" height=\"70\" width=\"50\" />จุดมุ่งหมายของลีลาศ</strong> <img border=\"0\" src=\"/files/u19775/31162_628528_0.gif\" height=\"70\" width=\"50\" /></u></span>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p>\n<br />\n             <span style=\"color: #0000ff\"> ลีลาศ  เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์  ที่เต็มไปด้วยความละเอียดอ่อนและสุนทรียภาพ  ประกอบด้วยเทคนิคและลีลาที่อ่อนช้อยสวยงาม  ชวนให้เพลิดเพลินมีชีวิตชีวา  เป็นสิ่งที่ให้ความรื่นเริงบันเทิงใจ  ช่วยผ่อนคลายความเคร่งเครียดจากงานประจำ  เราจะพบว่าในงานรื่นเริงสังสรรค์  หรืองานมงคลต่าง ๆ จะมีลีลาศเป็นสิ่งเชื่อมโยงงานนั้นให้ต่อเนื่อง  ทำให้ผู้ที่มาร่วมงานได้ผ่อนคลายอารมณ์  และเกิดความสนุกสนามร่วมกัน<br />\n         บางคนอาจเห็นว่า   การลีลาศเป็นวัฒนธรรมของชาวต่างประเทศ  เป็นเรื่องของการมอมเมาประกอบกับอาจได้พบเห็นบุคคลบางจำพวก  ใช้การลีลาศไปในทางที่ผิด  ประพฤติในสิ่งที่ไม่ดีเอารัดเอาเปรียบคู่ลีลาศหรือเพื่อกามารมณ์  จึงมักตั้งข้อรังเกียจและกีดกัน แท้ที่จริงแล้ว  ลีลาศเป็นกิจกรรมที่สามารถใช้เป็นสื่อในการเข้าสังคมได้เป็นอย่างดี</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p>\n<br />\n  ธงชัย  เจริญทรัพย์มณี  (2538 : 2)  ได้แบ่งรูปแบบของการลีลาศตามความมุ่งหมายออกเป็น 2  รูปแบบ  ดังนี้<br />\n1.  <span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800080\">ลีลาศเพื่อนันทนาการ</span>  </span><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #800000\">(Ballroom  Dancing  for  Recreation)<br />\n</span></span><span style=\"color: #008000\">2.  <span style=\"color: #008080\">ลีลาศเพื่อการแข่งขัน  (Ballroom  Dancing  for  Sport ‘ s Competition)</span></span><span style=\"color: #008000\"> </span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\">ลีลาศเพื่อนันทนาการ  (Ballroom  Dancing  for  Recreation)</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #800080\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19775/5.jpg\" style=\"width: 195px; height: 204px\" height=\"275\" width=\"400\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://img527.imageshack.us/i/dscf7558of3.jpg/\">http://img527.imageshack.us/i/dscf7558of3.jpg/</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n    <span style=\"color: #000000\">     <span style=\"color: #800000\"> การลีลาศเพื่อนันทนาการ  มีความมุ่งหมายที่จะใช้การลีลาศเป็นสื่อ  ดึงความสนใจของบุคคลต่าง ๆ ให้เข้าร่วมกิจกรรม  จะเห็น</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800000\">ได้ว่า  การจัดงานรื่นเริงในโอกาสต่าง ๆ เช่น  งานพบปะสังสรรค์  งานฉลองในวาระสำเร็จการศึกษา  งานราตรีสโมสร ฯลฯ  ล้วนแต่มี</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800000\">ลีลาศเป็นส่วนประกอบทั้งสิ้น  การลีลาศในรูปแบบนี้มักไม่ค่อยยึดติดหรือคำนึงถึงรูปแบบมากนัก  เพียงแต่อาศัยจังหวะ  และทำนองดนตรี</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800000\">ประกอบก็พอ  สำหรับลีลาท่าทางหรือลวดลาย  (Figure)  ต่าง ๆ ในการเคลื่อนไหวจะเน้นที่ความสนุกสนามและความพึงพอใจของคู่</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800000\">ลีลาศเป็นสำคัญ</span></span><span style=\"color: #800000\"> </span><span style=\"color: #008000\"> </span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\">ลีลาศเพื่อการแข่งขัน  (Ballroom  Dancing  for  Sport’s  Competition)</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19775/4.jpg\" style=\"width: 197px; height: 221px\" height=\"295\" width=\"250\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://4.bp.blogspot.com/_wOvSk3YY8ac/R-JXG5TYXTI/AAAAAAAAAGY/zurrQGbJ4-U/s320/rumba1web%5B1%5D.jpg\">http://4.bp.blogspot.com/_wOvSk3YY8ac/R-JXG5TYXTI/AAAAAAAAAGY/zurrQGbJ4-U/s320/rumba1web%5B1%5D.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\">          การลีลาศเพื่อการแข่งขัน  จะคำนึงถึงรูปแบบที่ถูกต้องตามเทคนิควิธี  มีความสง่างามตามหลักของการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติเป็นสำคัญ  ได้มีสมาคมลีลาศในหลาย ๆ ประเทศรวมทั้งประเทศไทยได้ร่วมกันส่งเสริมลีลาศให้มีการพัฒนา  และพยายามจัดให้เป็นรูปแบบของกีฬา  โดยมีแนวคิดว่าลีลาศคือกีฬาชนิดหนึ่ง  ที่ให้ความบันเทิงและส่งเสริมสุขภาพพลานามัยเป็นอย่างดี  นอกจากนี้ยังได้ร่วมกันจัดการแข่งขันลีลาศขึ้นในหลายระดับ  ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ  ทั้งประเภทอาชีพและสมัครเล่น  โดยมีชื่อเรียกแตกต่างกัน  เช่น</span><br />\n<span style=\"color: #008080\">-          การแข่งขันลีลาศระหว่างประเทศในแถบเอเชียแปซิฟิค <br />\n(Asian  Pacific  Modern  Latin  Dance  Championship)<br />\n-          การแข่งขันลีลาศประเภททีมนานาชาติ  (Anniversary  of Blackpool  team  Match)<br />\n-          การแข่งขันลีลาศชิงแชมป์โลก  <br />\n(World  Professional  Ballroom  Dancing  championship)   เป็นต้น<br />\n            จากความพยายามของสมาคมลีลาศต่าง ๆ ทั่วโลก  ในอันที่จะผลักดันให้ลีลาศได้รับการบรรจุเข้าเป็นกีฬาชนิดหนึ่งในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกส์  ในที่สุด  ผลจากการประชุมของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล  ที่นครบูดาเปสต์  ประเทศบัลแกเรีย  ในเดือนมิถุนายน  พ.ศ. 2539  ได้มีการลงสัตยาบันรับรองลีลาศเป็นกีฬาชนิดหนึ่ง  โดยสามารถจัดแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกส์ได้  และคณะกรรมการโอลิมปิกไทยก็ได้รับรองกีฬานี้เช่นกัน    โดยจัดให้มีการแข่งขันครั้งแรกในกีฬาโอลิมปิกส์  2000      “ซิดนี่ย์เกม”  ณ  ประเทศออสเตรเลีย  (หนังสือพิมพ์เดลินิวส์  วันศุกร์ที่  27  กันยายน  พ.ศ. 2539 :    21-22)  นอกจากนี้  ประเทศไทยยังได้จัดให้มีการแข่งขันลีลาศครั้งประวัติศาสตร์ขึ้น  เมื่อวันที่  30  พ.ย. – 1 ธ.ค. 2539  โดยใช้ชื่อว่า  “โกลเด้น  จูบิลลี่”  (Golden  Jubille  Thailand  Queen ‘ s  Cup  Dances Sport Championship) ชิงถ้วยพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ   เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองปีมหามงคลกาญจนาภิเษก  มีชาติต่าง ๆ สมัครเข้าแข่งขันในประเภทต่าง ๆ ถึง  25  ประเทศ  รวมคู่ลีลาศได้ถึง  97  คู่  (หนังสือพิมพ์เดลินิวส์  วันเสาร์ที่  14  ธันวาคม  พ.ศ. 2539  :  23)</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><a href=\"/node/46777\" class=\"node\" title=\"กลับหน้ากีฬาลีลาศ\">BACK</a></strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #008080\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42814\" class=\"node\" title=\"กลับหน้าหลัก\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19775/pbearhome2.gif\" height=\"102\" width=\"110\" /></a>\n</p>\n<p><a href=\"http://4.bp.blogspot.com/_wOvSk3YY8ac/R-JXG5TYXTI/AAAAAAAAAGY/zurrQGbJ4-U/s320/rumba1we\"></a></p>\n', created = 1720167259, expire = 1720253659, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b2250412e2e3167fe01cd9e64dfaaac7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

จุดมุ่งหมายของลีลาศ

รูปภาพของ sirin

จุดมุ่งหมายของลีลาศ


              ลีลาศ  เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์  ที่เต็มไปด้วยความละเอียดอ่อนและสุนทรียภาพ  ประกอบด้วยเทคนิคและลีลาที่อ่อนช้อยสวยงาม  ชวนให้เพลิดเพลินมีชีวิตชีวา  เป็นสิ่งที่ให้ความรื่นเริงบันเทิงใจ  ช่วยผ่อนคลายความเคร่งเครียดจากงานประจำ  เราจะพบว่าในงานรื่นเริงสังสรรค์  หรืองานมงคลต่าง ๆ จะมีลีลาศเป็นสิ่งเชื่อมโยงงานนั้นให้ต่อเนื่อง  ทำให้ผู้ที่มาร่วมงานได้ผ่อนคลายอารมณ์  และเกิดความสนุกสนามร่วมกัน
         บางคนอาจเห็นว่า   การลีลาศเป็นวัฒนธรรมของชาวต่างประเทศ  เป็นเรื่องของการมอมเมาประกอบกับอาจได้พบเห็นบุคคลบางจำพวก  ใช้การลีลาศไปในทางที่ผิด  ประพฤติในสิ่งที่ไม่ดีเอารัดเอาเปรียบคู่ลีลาศหรือเพื่อกามารมณ์  จึงมักตั้งข้อรังเกียจและกีดกัน แท้ที่จริงแล้ว  ลีลาศเป็นกิจกรรมที่สามารถใช้เป็นสื่อในการเข้าสังคมได้เป็นอย่างดี


  ธงชัย  เจริญทรัพย์มณี  (2538 : 2)  ได้แบ่งรูปแบบของการลีลาศตามความมุ่งหมายออกเป็น 2  รูปแบบ  ดังนี้
1.  ลีลาศเพื่อนันทนาการ  (Ballroom  Dancing  for  Recreation)
2.  ลีลาศเพื่อการแข่งขัน  (Ballroom  Dancing  for  Sport ‘ s Competition)

ลีลาศเพื่อนันทนาการ  (Ballroom  Dancing  for  Recreation)

 

 http://img527.imageshack.us/i/dscf7558of3.jpg/


          การลีลาศเพื่อนันทนาการ  มีความมุ่งหมายที่จะใช้การลีลาศเป็นสื่อ  ดึงความสนใจของบุคคลต่าง ๆ ให้เข้าร่วมกิจกรรม  จะเห็นได้ว่า  การจัดงานรื่นเริงในโอกาสต่าง ๆ เช่น  งานพบปะสังสรรค์  งานฉลองในวาระสำเร็จการศึกษา  งานราตรีสโมสร ฯลฯ  ล้วนแต่มีลีลาศเป็นส่วนประกอบทั้งสิ้น  การลีลาศในรูปแบบนี้มักไม่ค่อยยึดติดหรือคำนึงถึงรูปแบบมากนัก  เพียงแต่อาศัยจังหวะ  และทำนองดนตรีประกอบก็พอ  สำหรับลีลาท่าทางหรือลวดลาย  (Figure)  ต่าง ๆ ในการเคลื่อนไหวจะเน้นที่ความสนุกสนามและความพึงพอใจของคู่ลีลาศเป็นสำคัญ  

ลีลาศเพื่อการแข่งขัน  (Ballroom  Dancing  for  Sport’s  Competition)

http://4.bp.blogspot.com/_wOvSk3YY8ac/R-JXG5TYXTI/AAAAAAAAAGY/zurrQGbJ4-U/s320/rumba1web%5B1%5D.jpg

          การลีลาศเพื่อการแข่งขัน  จะคำนึงถึงรูปแบบที่ถูกต้องตามเทคนิควิธี  มีความสง่างามตามหลักของการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติเป็นสำคัญ  ได้มีสมาคมลีลาศในหลาย ๆ ประเทศรวมทั้งประเทศไทยได้ร่วมกันส่งเสริมลีลาศให้มีการพัฒนา  และพยายามจัดให้เป็นรูปแบบของกีฬา  โดยมีแนวคิดว่าลีลาศคือกีฬาชนิดหนึ่ง  ที่ให้ความบันเทิงและส่งเสริมสุขภาพพลานามัยเป็นอย่างดี  นอกจากนี้ยังได้ร่วมกันจัดการแข่งขันลีลาศขึ้นในหลายระดับ  ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ  ทั้งประเภทอาชีพและสมัครเล่น  โดยมีชื่อเรียกแตกต่างกัน  เช่น
-          การแข่งขันลีลาศระหว่างประเทศในแถบเอเชียแปซิฟิค
(Asian  Pacific  Modern  Latin  Dance  Championship)
-          การแข่งขันลีลาศประเภททีมนานาชาติ  (Anniversary  of Blackpool  team  Match)
-          การแข่งขันลีลาศชิงแชมป์โลก 
(World  Professional  Ballroom  Dancing  championship)   เป็นต้น
            จากความพยายามของสมาคมลีลาศต่าง ๆ ทั่วโลก  ในอันที่จะผลักดันให้ลีลาศได้รับการบรรจุเข้าเป็นกีฬาชนิดหนึ่งในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกส์  ในที่สุด  ผลจากการประชุมของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล  ที่นครบูดาเปสต์  ประเทศบัลแกเรีย  ในเดือนมิถุนายน  พ.ศ. 2539  ได้มีการลงสัตยาบันรับรองลีลาศเป็นกีฬาชนิดหนึ่ง  โดยสามารถจัดแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกส์ได้  และคณะกรรมการโอลิมปิกไทยก็ได้รับรองกีฬานี้เช่นกัน    โดยจัดให้มีการแข่งขันครั้งแรกในกีฬาโอลิมปิกส์  2000      “ซิดนี่ย์เกม”  ณ  ประเทศออสเตรเลีย  (หนังสือพิมพ์เดลินิวส์  วันศุกร์ที่  27  กันยายน  พ.ศ. 2539 :    21-22)  นอกจากนี้  ประเทศไทยยังได้จัดให้มีการแข่งขันลีลาศครั้งประวัติศาสตร์ขึ้น  เมื่อวันที่  30  พ.ย. – 1 ธ.ค. 2539  โดยใช้ชื่อว่า  “โกลเด้น  จูบิลลี่”  (Golden  Jubille  Thailand  Queen ‘ s  Cup  Dances Sport Championship) ชิงถ้วยพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ   เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองปีมหามงคลกาญจนาภิเษก  มีชาติต่าง ๆ สมัครเข้าแข่งขันในประเภทต่าง ๆ ถึง  25  ประเทศ  รวมคู่ลีลาศได้ถึง  97  คู่  (หนังสือพิมพ์เดลินิวส์  วันเสาร์ที่  14  ธันวาคม  พ.ศ. 2539  :  23)

 

BACK

 

สร้างโดย: 
นางสาวศิรินทร์ ปัชชา และครูสมพร ฉ่ำเอี่ยม โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 666 คน กำลังออนไลน์