• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5da034ac4a6ef6d0bbc72826960c639d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #FF6600\"><span style=\"background-color: #FF6600\"><span style=\"background-color: #FF9900\">โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus)</span></span></span></strong>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20255/hor75.gif\" width=\"350\" height=\"232\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา:http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor75.gif<br />\n<img height=\"51\" width=\"35\" src=\"/files/u20255/g04.gif\" />โรคเบาหวานเป็นโรคชนิดหนึ่งซึ่ง<em><u>ตับอ่อนของร่างกายไม่สามารถผลิตอินชูลินได</u></em>้้ พอเพียงหากรับประทานอาหารเข้าไปร่าง กายจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอาหารนั้นให้เกิดเป็นพลังงานได้ หากผู้ป่วยเป็นโรคนี้จะเป็นตลอดชีวิต ถ้าไม่มีการดูแลร่างกายอย่าง ต่อเนื่องจะไม่มีการควบคุมการรับประทานอาหารที่ดี เกิดโรคเรื้อรังอื่น ๆ ตามมา เช่น ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ต้องรีบ รักษาให้แผลหายก่อนที่แผลจะลุกลาม มิฉะนั้นอาจจะต้องตัดอวัยวะส่วนนั้นทิ้ง เนื่องจากบาดแผลของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานมักจะ รักษายากและหายช้า โรคเบาหวานเป็นสาเหตุของการป่วยเป็นโรคแทรกซ้อนอื่นๆ ที่มีอันตราย ข้อสังเกตและข้อแนะนำในการตรวจ ว่าเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ โดยสังเกตดูง่าย ๆ จากชีวิตประจำวันว่าในแต่ละวันมีอาการต่อไปนี้บ้างหรือไม่ เช่น มีปัสสาวะบ่อยเวลา กลางคืน มีอาการอ่อนเพลียง่าย เหนื่อยง่ายหรือกระหายน้ำบ่อย ๆ รับประทานอาหารได้ดีแต่น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ มีอาการ ตาพร่ามัวซึ่งไม่ควรจะเป็นในอายุ 30-40 ปี มีอาการเหล่านี้ควบคู่กัน 2 อาการขึ้นไป ควรหาโอกาสไปตรวจน้ำตาลในเลือดว่าระดับ น้ำตาลในเลือดสูงเท่าไร เพื่อจะได้ตรวจให้แน่ใจว่าเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ ปกติระดับน้ำตาลในเลือดควรอยู่ในระดับประมาณ 70-110 มิลลิกรัมเปอร์ซีซี ซึ่งเวลาตรวจหมอจะบอกว่าระดับน้ำตาลสูง คือมากกว่า 110 อาจต้องรับประทานยาโรคเบาหวาน\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20255/hor76.jpg\" width=\"300\" height=\"263\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา:http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor76.jpg \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"50\" width=\"47\" src=\"/files/u20255/g03.gif\" />โรคเบาหวานสามารถจะเกิดได้กับทุกเพศทุกวัย ทุกคนทุกกลุ่มอาจจะเป็นได้ทั้งหมดทั้งชายและหญิงสามารถเป็นโรคเบา หวานได้ทั้งสิ้น ถ้ามีประวัติว่าเคยมีคนในครอบครัวเป็นโรคเบาหวานอาจมีโอกาสเสี่ยงในการเป็น โรคเบาหวานสูงกว่าคนอื่นทั่วไป คนที่มีน้ำหนักตัวมากเกินไปอาจมีโอกาสทำให้เป็นโรคเบาหวานได้ง่ายกว่าคนอื่น ๆ เพราะฉะนั้นหลักในการคำนวณว่าน้ำหนักตัวเรา มากเกินไปหรือไม่ เป็นเพศหญิง โดยเอาส่วนสูงที่เป็นเซนติเมตรลบด้วย 110 และบวกลบด้วย 5 คือไม่เกินกว่านี้ ไม่ควรน้อยกว่า 5 หรือมากกว่า 5 จะได้น้ำหนักมาตรฐานว่าอ้วนไปไหม สำหรับเพศชายให้เอาส่วนสูงที่เป็นเซนติเมตรลบด้วย 100 และบวกลบได้ 5 จะ ได้ค่าน้ำหนักมาตรฐานจะได้ควบคุมน้ำหนักเพื่อจะไม่เป็นโรคเบาหวานในอนาคต\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20255/hor78.jpg\" width=\"350\" height=\"305\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nที่มา:http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor78.jpg <br />\n<img height=\"40\" width=\"78\" src=\"/files/u20255/g05.gif\" />โรคแทรกซ้อนที่จะเกิดควบคู่หรือเกิดหลังจากเป็นโรคเบาหวานมีหลายโรค เช่น โรคหัวใจ โรคไต โรคต้อ คนไข้จะมีตามัว หรือขาบวม ถ้าเป็นโรคต้อจะทำให้คนไข้มีอาการตาบอดได้ในที่สุด คนไข้เบาหวานผิวหวังจะอ่อนแอสามารถเป็นแผลได้ง่ายหรือคน ไข้ตามัวจะทำให้สะดุดหรืออุบัติเหตุได้ง่าย ทำให้เป็นแผลเรื้อรัง พอเป็นแผลจะทำให้แผลหายยากถ้ารักษาไม่หายอาจต้องตัดอวัยวะ ส่วนนั้นทิ้งไปในอนาคต <br />\nโรคเบาหวานเป็นโรคที่รักษาไม่หายขาดเมื่อเป็นแล้วจะต้องเป็นตลอดชีวิต แต่สามารถควบคุมโรคไม่ให้เป็นขั้นรุนแรงได้ วิธีการปฏิบัติตัวให้ถูกต้องและถูกวิธีมี 3 ข้อดังนี้คือ\n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\n1. ผู้เป็นโรคเบาหวานทุกคนควรอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างต่อเนื่องและปฏิบัติตัวตามที่แพทย์แนะนำอย่างเคร่งครัด <br />\n2. ผู้ป่วยทุกคนควรควบคุมเรื่องน้ำหนักโดยออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ออกกำลังกายช่วงเช้าเหนื่อยแล้ว ตอนกลางคืน ต้องพักผ่อนให้เพียงพอเพราะ 2 สิ่งนี้เป็นสิ่งที่ควบคู่กัน ผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่จะอ่อนเพลียง่ายกว่าปกติมากกว่าคนอื่น ดังนั้นหาก ออกกำลังกายสม่ำเสมอคนไข้จะหลับพักอ่อนได้เต็มที่\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20255/09.jpg\" width=\"300\" height=\"375\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nที่มา :http://www.ku.ac.th/e-magazine/july51/image/09.jpg<br />\n<img height=\"40\" width=\"40\" src=\"/files/u20255/g06.gif\" />3. เรื่องที่จะต้องระมัดระวังมากเป็นพิเศษคือ การควบคุมเรื่องการรับประทานอาหาร ผู้ป่วยต้องรับประทานอาหารจำพวก ผักและผลไม้เพิ่มขึ้น ผลไม้ควรเลือกที่มีรสหวานน้อยที่สุด หลีกเลี่ยงอาหารจำพวกแป้ง น้ำตาล หรือน้ำอัดลม หันมารับประทานอาหาร ที่มีกากมากขึ้น เช่น ฝรั่ง ส้ม ควรเลือกที่ไม่หวานจัด ฝรั่งเป็นผลไม้ที่มีประโยชน์ที่สุดเพราะมีกาก และมีรสไม่หวาน <br />\nเพราะฉะนั้นถึงแม้ว่าโรคเบาหวานเป็นโรคที่รักษาไม่หายขาด อย่าเพิ่งท้อใจว่าตลอดชีวิตต้องเป็นโรคนี้จนกระทั่งต้องทาน ยาตลอดไป\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nถ้าผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวและดูแลตนเองให้ดีอย่างเหมาะสม จะมีสุขภาพแข็งแรงและสามารถดำรงชีวิตได้เหมือนคน ที่ไม่เป็นโรคเบาหวานได้เช่นกัน\n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nถ้าผู้ป่วยที่เป็นไม่มากคือระดับน้ำตาลในเลือดไม่สูงมาก ที่หมอพิจารณาแล้วว่าไม่ต้องรับประทานยา ควรจะปฏิบัติตัวให้ ได้อย่างที่แพทย์บอกคือ งดดื่มหรือรับประทานผลไม้หรือของหวานทุกชนิด และให้รับประทานผักให้มากขึ้น หรือรับประทานเนื้อสัตว์ ที่ไม่ติดมันหรือไข่ขาว อาหารที่มีประโยชน์มักเป็นอาหารที่ไม่อร่อยแต่เป็นอาหารที่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยอยู่ในระดับ สม่ำเสมอได้ หลังจากนั้นควรบังคับใจตัวเองโดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ วิธีการออกกำลังกายต้องเหมาะสม คือเป็นการ ออกกำลังกายที่เราชอบ และสามารถปฏิบัติได้ทุกวัน อย่างสม่ำเสมอโรคเบาหวานหรือระดับน้ำตาลในเลือดจะลดน้อยลงได้ในแต่ละวัน\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20255/92283.jpg\" width=\"148\" height=\"162\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nที่มา:http://www.vcharkarn.com/uploads/92/92283.jpg<br />\n<img height=\"35\" width=\"33\" src=\"/files/u20255/jelly_sad.gif\" />โรคเบาหวานเป็นโรคที่ยอดฮิต ซึ่ง 70-80 % ส่วนใหญ่จะได้รับโรคนี้ทุกคน ฉะนั้นโรคนี้เป็นโรคใกล้ตัวแต่การปฏิบัติยาก พอสมควร เพราะจะต้องบังคับใจตัวเองมากในแต่ละวันควรจะรับประทานอาหารอย่างไร ควรออกกำลังกาย ปฏิบัติตัวอย่างไร ฉะนั้น ถ้าผู้ป่วยเป็นโรคนี้และยังไม่ได้รับประทานอาหารยาควบคุมโรคเบาหวาน ขอให้เริ่มด้วยการควบคุมเรื่องอาหาร ให้รับประทานผัก , ผลไม้มาก ๆ ผลไม้ควบคุมไม่ให้มีรสหวานมาก อาหารที่มีกากใยสูงจะมีประโยชน์สำหรับเราทำให้หิวน้อยลง การควบคุมอาหารนี้ ควรทำควบคู่ไปกับการออกกำลังกายรักษาระดับปริมาณน้ำตาลในเลือดอาจจะเล่น แบดมินตันหรือว่ายน้ำ เป็นการออกกำลังกาย เพื่อ ช่วยให้เลือดไหลเวียนไปทั่วร่างกายได้ดีขึ้น ทำให้ความอยากอาหารลดน้อยลง และเราจะควบคุมการรับประทานอาหารได้ดีกว่าปกติ ถ้าได้ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<img src=\"/files/u20255/h-exercise-1.gif\" width=\"236\" height=\"285\" />  \n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nที่มา:http://www.yourhealthyguide.com/article/images_article/h-exercise-1.gif<br />\n<img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u20255/o005.gif\" />สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานซึ่งกรณีที่ไม่เคยออกกำลังกายมาก่อน ควรปรึกษาแพทย์ อันดับแรกแพทย์ต้องตรวจสภาพทั่ว ไปของร่างกายอาจทำการเอ็กซเรย์ หรือเจาะเลือดเพื่อดูระดับน้ำตาลว่าสูงมากไหมหรือวัดความดัน จับชีพจร ถ้าระบบการทำงานของ หัวใจหรือข้อต่าง ๆ ของร่างกายไม่มีอาการข้อเลื่อน แพทย์จะให้ออกกังกายได้ตามปกติ แต่ถ้าผู้ป่วยที่แพทย์บอกว่าให้ระวังเรื่องข้อ หรือหัวใจ ซึ่งมีแทรกซ้อนอยู่เล็กน้อย ให้ระวังในการออกกำลังกาย ถ้าแพทย์อนุญาตให้ออกกำลังกายได้ควรเริ่มได้เลย จะเริ่มน้อย ๆ ประมาณ 5 นาที และค่อย เพิ่มอาจเป็น 5-10 นาทีในแต่ละวัน คนไข้ซึ่งเป็นโรคเบาหวานไม่ควรออกกำลังกายหักโหมเกินไป เพราะ ปกติคนไข้เบาหวานส่วนใหญ่จะอ่อนเพลียง่าย เหนื่อยง่าย มักจะขี้เซามากกว่าคนปกติ เพราะฉะนั้นถ้าหักโหมเกินไปคนไข้จะอ่อน เพลียง่าย ขณะที่ออกกำลังกายควรใส่รองเท้าที่นิ่มกระชับเท้า เสื้อผ้าควรสวมใส่ที่หลวมสบาย และหยุดออกกำลังกายทันทีเมื่อมี อาการหน้ามืดหรือผิดปกติ ไม่ว่าจะเป็นการเต้นของหัวใจอ่อนเพลียหรือเหงื่อออกมากผิดปกติต้องหยุดการ ออกกำลังกายทันที <br />\nอาจจะ ทำให้หัวใจวายได้\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20255/92296.jpg\" width=\"250\" height=\"334\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา:http://www.vcharkarn.com/uploads/92/92296.jpg \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"20\" width=\"309\" src=\"/files/u20255/reply-00000027642.gif\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/43035\"><img height=\"35\" width=\"150\" src=\"/files/u20255/home.jpg\" /></a> \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n', created = 1729579185, expire = 1729665585, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5da034ac4a6ef6d0bbc72826960c639d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคเบาหวาน

 
 
โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus)
 
ที่มา:http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor75.gif
โรคเบาหวานเป็นโรคชนิดหนึ่งซึ่งตับอ่อนของร่างกายไม่สามารถผลิตอินชูลินได้้ พอเพียงหากรับประทานอาหารเข้าไปร่าง กายจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอาหารนั้นให้เกิดเป็นพลังงานได้ หากผู้ป่วยเป็นโรคนี้จะเป็นตลอดชีวิต ถ้าไม่มีการดูแลร่างกายอย่าง ต่อเนื่องจะไม่มีการควบคุมการรับประทานอาหารที่ดี เกิดโรคเรื้อรังอื่น ๆ ตามมา เช่น ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ต้องรีบ รักษาให้แผลหายก่อนที่แผลจะลุกลาม มิฉะนั้นอาจจะต้องตัดอวัยวะส่วนนั้นทิ้ง เนื่องจากบาดแผลของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานมักจะ รักษายากและหายช้า โรคเบาหวานเป็นสาเหตุของการป่วยเป็นโรคแทรกซ้อนอื่นๆ ที่มีอันตราย ข้อสังเกตและข้อแนะนำในการตรวจ ว่าเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ โดยสังเกตดูง่าย ๆ จากชีวิตประจำวันว่าในแต่ละวันมีอาการต่อไปนี้บ้างหรือไม่ เช่น มีปัสสาวะบ่อยเวลา กลางคืน มีอาการอ่อนเพลียง่าย เหนื่อยง่ายหรือกระหายน้ำบ่อย ๆ รับประทานอาหารได้ดีแต่น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ มีอาการ ตาพร่ามัวซึ่งไม่ควรจะเป็นในอายุ 30-40 ปี มีอาการเหล่านี้ควบคู่กัน 2 อาการขึ้นไป ควรหาโอกาสไปตรวจน้ำตาลในเลือดว่าระดับ น้ำตาลในเลือดสูงเท่าไร เพื่อจะได้ตรวจให้แน่ใจว่าเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ ปกติระดับน้ำตาลในเลือดควรอยู่ในระดับประมาณ 70-110 มิลลิกรัมเปอร์ซีซี ซึ่งเวลาตรวจหมอจะบอกว่าระดับน้ำตาลสูง คือมากกว่า 110 อาจต้องรับประทานยาโรคเบาหวาน
ที่มา:http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor76.jpg 
โรคเบาหวานสามารถจะเกิดได้กับทุกเพศทุกวัย ทุกคนทุกกลุ่มอาจจะเป็นได้ทั้งหมดทั้งชายและหญิงสามารถเป็นโรคเบา หวานได้ทั้งสิ้น ถ้ามีประวัติว่าเคยมีคนในครอบครัวเป็นโรคเบาหวานอาจมีโอกาสเสี่ยงในการเป็น โรคเบาหวานสูงกว่าคนอื่นทั่วไป คนที่มีน้ำหนักตัวมากเกินไปอาจมีโอกาสทำให้เป็นโรคเบาหวานได้ง่ายกว่าคนอื่น ๆ เพราะฉะนั้นหลักในการคำนวณว่าน้ำหนักตัวเรา มากเกินไปหรือไม่ เป็นเพศหญิง โดยเอาส่วนสูงที่เป็นเซนติเมตรลบด้วย 110 และบวกลบด้วย 5 คือไม่เกินกว่านี้ ไม่ควรน้อยกว่า 5 หรือมากกว่า 5 จะได้น้ำหนักมาตรฐานว่าอ้วนไปไหม สำหรับเพศชายให้เอาส่วนสูงที่เป็นเซนติเมตรลบด้วย 100 และบวกลบได้ 5 จะ ได้ค่าน้ำหนักมาตรฐานจะได้ควบคุมน้ำหนักเพื่อจะไม่เป็นโรคเบาหวานในอนาคต
 

ที่มา:http://www.skn.ac.th/skl/project1/hor48/hor78.jpg 
โรคแทรกซ้อนที่จะเกิดควบคู่หรือเกิดหลังจากเป็นโรคเบาหวานมีหลายโรค เช่น โรคหัวใจ โรคไต โรคต้อ คนไข้จะมีตามัว หรือขาบวม ถ้าเป็นโรคต้อจะทำให้คนไข้มีอาการตาบอดได้ในที่สุด คนไข้เบาหวานผิวหวังจะอ่อนแอสามารถเป็นแผลได้ง่ายหรือคน ไข้ตามัวจะทำให้สะดุดหรืออุบัติเหตุได้ง่าย ทำให้เป็นแผลเรื้อรัง พอเป็นแผลจะทำให้แผลหายยากถ้ารักษาไม่หายอาจต้องตัดอวัยวะ ส่วนนั้นทิ้งไปในอนาคต
โรคเบาหวานเป็นโรคที่รักษาไม่หายขาดเมื่อเป็นแล้วจะต้องเป็นตลอดชีวิต แต่สามารถควบคุมโรคไม่ให้เป็นขั้นรุนแรงได้ วิธีการปฏิบัติตัวให้ถูกต้องและถูกวิธีมี 3 ข้อดังนี้คือ

1. ผู้เป็นโรคเบาหวานทุกคนควรอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างต่อเนื่องและปฏิบัติตัวตามที่แพทย์แนะนำอย่างเคร่งครัด
2. ผู้ป่วยทุกคนควรควบคุมเรื่องน้ำหนักโดยออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ออกกำลังกายช่วงเช้าเหนื่อยแล้ว ตอนกลางคืน ต้องพักผ่อนให้เพียงพอเพราะ 2 สิ่งนี้เป็นสิ่งที่ควบคู่กัน ผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่จะอ่อนเพลียง่ายกว่าปกติมากกว่าคนอื่น ดังนั้นหาก ออกกำลังกายสม่ำเสมอคนไข้จะหลับพักอ่อนได้เต็มที่
 

ที่มา :http://www.ku.ac.th/e-magazine/july51/image/09.jpg
3. เรื่องที่จะต้องระมัดระวังมากเป็นพิเศษคือ การควบคุมเรื่องการรับประทานอาหาร ผู้ป่วยต้องรับประทานอาหารจำพวก ผักและผลไม้เพิ่มขึ้น ผลไม้ควรเลือกที่มีรสหวานน้อยที่สุด หลีกเลี่ยงอาหารจำพวกแป้ง น้ำตาล หรือน้ำอัดลม หันมารับประทานอาหาร ที่มีกากมากขึ้น เช่น ฝรั่ง ส้ม ควรเลือกที่ไม่หวานจัด ฝรั่งเป็นผลไม้ที่มีประโยชน์ที่สุดเพราะมีกาก และมีรสไม่หวาน
เพราะฉะนั้นถึงแม้ว่าโรคเบาหวานเป็นโรคที่รักษาไม่หายขาด อย่าเพิ่งท้อใจว่าตลอดชีวิตต้องเป็นโรคนี้จนกระทั่งต้องทาน ยาตลอดไป
ถ้าผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวและดูแลตนเองให้ดีอย่างเหมาะสม จะมีสุขภาพแข็งแรงและสามารถดำรงชีวิตได้เหมือนคน ที่ไม่เป็นโรคเบาหวานได้เช่นกัน

ถ้าผู้ป่วยที่เป็นไม่มากคือระดับน้ำตาลในเลือดไม่สูงมาก ที่หมอพิจารณาแล้วว่าไม่ต้องรับประทานยา ควรจะปฏิบัติตัวให้ ได้อย่างที่แพทย์บอกคือ งดดื่มหรือรับประทานผลไม้หรือของหวานทุกชนิด และให้รับประทานผักให้มากขึ้น หรือรับประทานเนื้อสัตว์ ที่ไม่ติดมันหรือไข่ขาว อาหารที่มีประโยชน์มักเป็นอาหารที่ไม่อร่อยแต่เป็นอาหารที่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยอยู่ในระดับ สม่ำเสมอได้ หลังจากนั้นควรบังคับใจตัวเองโดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ วิธีการออกกำลังกายต้องเหมาะสม คือเป็นการ ออกกำลังกายที่เราชอบ และสามารถปฏิบัติได้ทุกวัน อย่างสม่ำเสมอโรคเบาหวานหรือระดับน้ำตาลในเลือดจะลดน้อยลงได้ในแต่ละวัน
 

ที่มา:http://www.vcharkarn.com/uploads/92/92283.jpg
โรคเบาหวานเป็นโรคที่ยอดฮิต ซึ่ง 70-80 % ส่วนใหญ่จะได้รับโรคนี้ทุกคน ฉะนั้นโรคนี้เป็นโรคใกล้ตัวแต่การปฏิบัติยาก พอสมควร เพราะจะต้องบังคับใจตัวเองมากในแต่ละวันควรจะรับประทานอาหารอย่างไร ควรออกกำลังกาย ปฏิบัติตัวอย่างไร ฉะนั้น ถ้าผู้ป่วยเป็นโรคนี้และยังไม่ได้รับประทานอาหารยาควบคุมโรคเบาหวาน ขอให้เริ่มด้วยการควบคุมเรื่องอาหาร ให้รับประทานผัก , ผลไม้มาก ๆ ผลไม้ควบคุมไม่ให้มีรสหวานมาก อาหารที่มีกากใยสูงจะมีประโยชน์สำหรับเราทำให้หิวน้อยลง การควบคุมอาหารนี้ ควรทำควบคู่ไปกับการออกกำลังกายรักษาระดับปริมาณน้ำตาลในเลือดอาจจะเล่น แบดมินตันหรือว่ายน้ำ เป็นการออกกำลังกาย เพื่อ ช่วยให้เลือดไหลเวียนไปทั่วร่างกายได้ดีขึ้น ทำให้ความอยากอาหารลดน้อยลง และเราจะควบคุมการรับประทานอาหารได้ดีกว่าปกติ ถ้าได้ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

 

ที่มา:http://www.yourhealthyguide.com/article/images_article/h-exercise-1.gif
สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานซึ่งกรณีที่ไม่เคยออกกำลังกายมาก่อน ควรปรึกษาแพทย์ อันดับแรกแพทย์ต้องตรวจสภาพทั่ว ไปของร่างกายอาจทำการเอ็กซเรย์ หรือเจาะเลือดเพื่อดูระดับน้ำตาลว่าสูงมากไหมหรือวัดความดัน จับชีพจร ถ้าระบบการทำงานของ หัวใจหรือข้อต่าง ๆ ของร่างกายไม่มีอาการข้อเลื่อน แพทย์จะให้ออกกังกายได้ตามปกติ แต่ถ้าผู้ป่วยที่แพทย์บอกว่าให้ระวังเรื่องข้อ หรือหัวใจ ซึ่งมีแทรกซ้อนอยู่เล็กน้อย ให้ระวังในการออกกำลังกาย ถ้าแพทย์อนุญาตให้ออกกำลังกายได้ควรเริ่มได้เลย จะเริ่มน้อย ๆ ประมาณ 5 นาที และค่อย เพิ่มอาจเป็น 5-10 นาทีในแต่ละวัน คนไข้ซึ่งเป็นโรคเบาหวานไม่ควรออกกำลังกายหักโหมเกินไป เพราะ ปกติคนไข้เบาหวานส่วนใหญ่จะอ่อนเพลียง่าย เหนื่อยง่าย มักจะขี้เซามากกว่าคนปกติ เพราะฉะนั้นถ้าหักโหมเกินไปคนไข้จะอ่อน เพลียง่าย ขณะที่ออกกำลังกายควรใส่รองเท้าที่นิ่มกระชับเท้า เสื้อผ้าควรสวมใส่ที่หลวมสบาย และหยุดออกกำลังกายทันทีเมื่อมี อาการหน้ามืดหรือผิดปกติ ไม่ว่าจะเป็นการเต้นของหัวใจอ่อนเพลียหรือเหงื่อออกมากผิดปกติต้องหยุดการ ออกกำลังกายทันที
อาจจะ ทำให้หัวใจวายได้
 
 
ที่มา:http://www.vcharkarn.com/uploads/92/92296.jpg 
 
 
 
สร้างโดย: 
อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.จุฑารัตน์ จริงธนสาร ผู้จัดทำ : นส.วิศัลยา ชินกาญจนโรจน์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 422 คน กำลังออนไลน์