• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0a22eb79d3ea57ebdba9059799859553' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u19943/vergin.gif\" height=\"137\" style=\"width: 652px; height: 155px\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><u>การทำโลหะให้บริสุทธิ์</u></strong><br />\n     </span>\n</p>\n<p>\n             การทำโลหะให้บริสุทธิ์ด้วยกระบวนการอิเล็กโทรลิซิส  ใช้หลักการเดียวกับกับการชุบด้วยไฟฟ้า  <br />\n    โดยใช้โลหะที่บริสุทธิ์เป็นแคโทด  โลหะที่ไม่บริสุทธิ์เป็นแอโนด และใช้สารละลายที่มีไอออนของโลหะ<br />\n    ดังกล่าวเป็นอิเล็กโทรไลต์  เช่นการทำทองแดงให้บริสุทธิ์<br />\n            สิ่งเจือปนที่มักจะมีอยู่ในทองแดง ได้แก่ เหล็ก เงิน ทอง แพลตินัม และสังกะสี <br />\n    เมื่อต้องการทำทองแดงให้บริสุทธิ์ (GRedCat) ต้องจัดให้แท่งทองแดงที่ไม่บริสุทธิ์เป็นขั้วแอโนด (LAnOX) <br />\n    และแผ่นทองแดงที่บริสุทธิ์เป็นแคโทดจุ่มอยู่ในสารละลายผสมของคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตกับกรดซัลฟิวริก<br />\n    ครึ่งปฏิกิริยารีดักชันและค่า E๐ ที่เกี่ยวข้องมีดังต่อไปนี้<br />\n                   \n</p>\n<p>\n                    Au3+(aq) + 3e- ----&gt; Au(s)                          +1.50 V<br />\n                    Pt2+(aq) + 2e-  ----&gt; Pt(s)                            +1.20 V<br />\n                    Ag+(aq) + e-  ----&gt;  Ag(s)                            +0.80 V<br />\n                    Cu2+aq) + 2e- ----&gt;  Cu(s)                           +0.34 V<br />\n                    Fe2+(aq) + 2e- ----&gt;  Fe(s)                           -0.44 V<br />\n                    Zn2+(aq) + 2e-  ----&gt; Zn(s)                          -0.76 V<br />\n               \n</p>\n<p>\n           การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าตรงที่มีศักย์ไฟฟ้าที่เหมาะสมลง<br />\nไปในสารละลาย ดังนั้นที่ขั้วแอโนด   สารที่จะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันก็คือ Cu แต่ค่า E๐ ของ Fe <br />\nและ Zn มีค่าน้อยกว่า Cu จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ดีกว่า Cu2+,  Fe2+ และ Zn2+<br />\n จึงละลายลงไปในสารละลาย ส่วน Au  Pt และ Ag ซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าไม่สามารถเกิด<br />\nปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ เมื่อแท่งทองแดงที่ไม่บริสุทธิ์กร่อนไปเรื่อย ๆ Au  Pt และ Ag<br />\n ก็จะตกเป็นตะกอนลงมาที่ก้นภาชนะ <br />\n          <br />\n              ส่วนที่ขั้วแคโทด ไอออนที่สามารถจะเกิดปฏิกิริยารีดักชันได้คือ Cu2+,  Fe2+ และ Zn2+ <br />\nแต่ค่า E๐ ของ Cu2+ สูงที่สุดจึงมาเกิดปฏิกิริยารีดักชันที่ขั้วแคโทดได้ จึงเกิดเป็นโลหะทองแดงเกาะ<br />\nที่ขั้วซึ่งเป็นแผ่นทองแดงบริสุทธิ์ ทำให้ได้ทองแดงที่บริสุทธิ์ขึ้น ส่วน Fe2+ และ Zn2+ ก็จะอยู่ในสารละลาย <br />\n         \n</p>\n<p>\n              <span style=\"color: #ff0000\">  ที่ขั้วแอโนด</span>          Cu(s)  ----&gt;   Cu2+aq) + 2e- <br />\n                                        Fe(s)  ----&gt; Fe2+(aq) + 2e-  <br />\n                                        Zn(s)  ----&gt;  Zn2+(aq) + 2e-  <br />\n         \n</p>\n<p>\n                   <span style=\"color: #ff0000\">ที่ขั้วแคโทด</span>          Cu2+aq) + 2e-  ----&gt; Cu(s)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"350\" src=\"/files/u19943/line015.gif\" height=\"72\" />\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" align=\"right\" width=\"200\" src=\"/files/u19943/catty.gif\" height=\"298\" /><br />\n \n</p>\n', created = 1719399615, expire = 1719486015, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0a22eb79d3ea57ebdba9059799859553' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การทำโลหะให้บริสุทธิ์

 

การทำโลหะให้บริสุทธิ์
    

             การทำโลหะให้บริสุทธิ์ด้วยกระบวนการอิเล็กโทรลิซิส  ใช้หลักการเดียวกับกับการชุบด้วยไฟฟ้า 
    โดยใช้โลหะที่บริสุทธิ์เป็นแคโทด  โลหะที่ไม่บริสุทธิ์เป็นแอโนด และใช้สารละลายที่มีไอออนของโลหะ
    ดังกล่าวเป็นอิเล็กโทรไลต์  เช่นการทำทองแดงให้บริสุทธิ์
            สิ่งเจือปนที่มักจะมีอยู่ในทองแดง ได้แก่ เหล็ก เงิน ทอง แพลตินัม และสังกะสี
    เมื่อต้องการทำทองแดงให้บริสุทธิ์ (GRedCat) ต้องจัดให้แท่งทองแดงที่ไม่บริสุทธิ์เป็นขั้วแอโนด (LAnOX)
    และแผ่นทองแดงที่บริสุทธิ์เป็นแคโทดจุ่มอยู่ในสารละลายผสมของคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตกับกรดซัลฟิวริก
    ครึ่งปฏิกิริยารีดักชันและค่า E๐ ที่เกี่ยวข้องมีดังต่อไปนี้
                   

                    Au3+(aq) + 3e- ----> Au(s)                          +1.50 V
                    Pt2+(aq) + 2e-  ----> Pt(s)                            +1.20 V
                    Ag+(aq) + e-  ---->  Ag(s)                            +0.80 V
                    Cu2+aq) + 2e- ---->  Cu(s)                           +0.34 V
                    Fe2+(aq) + 2e- ---->  Fe(s)                           -0.44 V
                    Zn2+(aq) + 2e-  ----> Zn(s)                          -0.76 V
               

           การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าตรงที่มีศักย์ไฟฟ้าที่เหมาะสมลง
ไปในสารละลาย ดังนั้นที่ขั้วแอโนด   สารที่จะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันก็คือ Cu แต่ค่า E๐ ของ Fe
และ Zn มีค่าน้อยกว่า Cu จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ดีกว่า Cu2+,  Fe2+ และ Zn2+
 จึงละลายลงไปในสารละลาย ส่วน Au  Pt และ Ag ซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าไม่สามารถเกิด
ปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ เมื่อแท่งทองแดงที่ไม่บริสุทธิ์กร่อนไปเรื่อย ๆ Au  Pt และ Ag
 ก็จะตกเป็นตะกอนลงมาที่ก้นภาชนะ
         
              ส่วนที่ขั้วแคโทด ไอออนที่สามารถจะเกิดปฏิกิริยารีดักชันได้คือ Cu2+,  Fe2+ และ Zn2+
แต่ค่า E๐ ของ Cu2+ สูงที่สุดจึงมาเกิดปฏิกิริยารีดักชันที่ขั้วแคโทดได้ จึงเกิดเป็นโลหะทองแดงเกาะ
ที่ขั้วซึ่งเป็นแผ่นทองแดงบริสุทธิ์ ทำให้ได้ทองแดงที่บริสุทธิ์ขึ้น ส่วน Fe2+ และ Zn2+ ก็จะอยู่ในสารละลาย
         

                ที่ขั้วแอโนด          Cu(s)  ---->   Cu2+aq) + 2e-
                                        Fe(s)  ----> Fe2+(aq) + 2e- 
                                        Zn(s)  ---->  Zn2+(aq) + 2e- 
         

                   ที่ขั้วแคโทด          Cu2+aq) + 2e-  ----> Cu(s)

 


 

สร้างโดย: 
อาจารย์กุลณี อารีมิตรและนางสาวพัชรีพร จันทร์ส่อง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 459 คน กำลังออนไลน์