• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b9bb46f9cd5aba737cd5c2851443ec9c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">        <img border=\"0\" src=\"/files/u19918/Untitled-6.gif\" height=\"152\" width=\"454\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">       การศึกษาเกี่ยวกับที่มาของชนชาติไทยยังคงเป็นประเด็นถกเถียงกันอยู่และหาข้อยุติแน่นอนไม่ได้ แต่ข้อสันนิษฐานหรือแนวคิดต่าง ๆ ที่มีหลักฐานน่าเชื่อถือมีผล ให้การศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชนชาติไทยมีความชัดเจนมากขึ้น สรุปได้เป็น 5 แนวทาง ดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #3366ff; color: #ffffff\">1. แนวคิดที่เชื่อว่าชนชาติไทยอยู่บริเวณเอเชียกลาง</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19918/viewimage.jpg\" height=\"300\" width=\"400\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา <a href=\"http://th.thaiembassymoscow.com/articles/viewimage.php?file=71\">http://th.thaiembassymoscow.com/articles/viewimage.php?file=71</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n           <span style=\"color: #3366ff\">แนวคิดนี้เกิดขึ้นหลัง พ.ศ. 2450 เป็นต้นมา โดยนักประวัติศาสตร์ในช่วงนั้นต่างมีความเชื่อกันว่าแหล่งกำเนิดอารยธรรมของโลกมีจุดกำเนิดอยู่ทางแถบ เอเชียกลางใกล้ทะเลแคสเปียน ก่อนที่กระจายไปยังทิศทางต่าง ๆ ดร.วิลเลียม คลิฟตัน ดอดหมอสอนศาสนาชาวอเมริกันได้นำความเชื่อนี้ไปกล่าวไว้ในงานเขียน เกี่ยวกับชนชาติไทยของเขาว่าพวกมุงซึ่งเชื่อกันว่าเป็นบรรพบุรุษของคนไทยได้อพยพโยกย้ายถิ่นฐานมาจากถิ่นกำเนิดของตนในเอเชียกลางมายังชายแดนด้าน ตะวันตกของจีน<br />\n          ขุนวิจิตรมาตรา ( สง่า กาญจนาคพันธ์ ) ได้แสดงความคิดเห็นไว้ในหนังสือหลักไท ( พ.ศ. 2471 ) เชื่อว่าแหล่งกำเนิดของชนชาติไทยอยู่บริเวณเทือกเขา ิอัลไตของเอเชียกลาง ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของพวกมองโกลด้วยกัน ภายหลังจึงได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานแถบบริเวณลุ่มแม่น้ำเหลือง และแม่น้ำแยงซีต่อมาเมื่อถูกรุกราน จึงค่อย ๆ อพยพลงมาสู่สุวรรณภูมิต่อมาภายหลัง เมื่อมีการศึกษาทางด้านโบราณคดีและด้านภูมิศาสตร์ ทำให้แนว ความคิดนี้ไม่ได้รับการยอมรับอีกต่อไปเพราะทาง แถบบริเวณเทือกเขาอัลไตของเอเชียกลางนั้นเป็นเขตแห้งแล้ง อากาศมีความหนาวเย็น และถ้าอพยพโยกย้ายลงมาก็ต้องผ่านทะเลทรายที่กว้างใหญ่และทุรกันดารมาก จึงไม่เหมาะสำหรับจะเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #3366ff; color: #ffffff\">2. แนวคิดที่เชื่อว่าชนชาติไทยอยู่บริเวณมณฑลเสฉวน</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19918/sechun.jpg\" height=\"372\" width=\"400\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา <a href=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no12-14-45/china/picture/sechun.jpg\">http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6-4/no12-14-45/china/picture/sechun.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n      <span style=\"color: #3366ff\">เทเรียน เดอ ลา คูเปอรี ศาสตราจารย์ชาวฝรั่งเศส เจ้าของแนวความคิดที่เชื่อว่าความเป็น มาของคนไทยอยู่บริเวณมณฑลเสฉวนของจีนได้แสดงความ เห็นไว้ว่า คนเชื้อชาติไทยตั้งถิ่นฐานเป็นอาณาจักรอยู่ในดินแดนจีนมาก่อน เมื่อประมาณ 2,208 ปีก่อนคริสตกาล ชนชาติ &quot; ไท&quot;ได้ถูกระบุไว้ในรายงานสำรวจ ภูมิประเทศจีนในสมัยพระเจ้ายู้ จีนเรียกชนชาติไทยว่า &quot;มุง&quot; หรือ &quot;ต้ามุง&quot; ถิ่นที่อยู่ของคนไทยซึ่งปรากฏในจดหมายเหตุจีนนี้อยู่ในเขตที่เป็นมณฑลเสฉวนปัจจุบัน      สมเด็จ ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเสนอความเห็นไว้ว่า คนไทยน่าจะอยู่แถบดินแดนทิเบตต่อกับจีน ( มณฑลเสฉวนปัจจุบัน ) ราว พ.ศ. 500 ถูกจีนรุกรานจึงอพยพมาอยู่ที่ยูนนานทางตอนใต้ของจีน แล้วกระจายไปตั้งถิ่นฐานบริเวณเงี้ยว ฉาน สิบสองจุไท ล้านนา ล้านช้าง <br />\n      หลวงวิจิตรวาทการ ได้กล่าวถึงถิ่นกำเนิดของคนไทยไว้ว่า คนไทยมีถิ่นกำเนิดอยู่ในดินแดนซึ่งเป็นมณฑลเสฉวน ฮูเป อันฮุย และเกียงซีตอนกลางของ ประเทศจีนปัจจุบัน ก่อนที่จีนจะอพยพเข้ามา แล้วค่อย ๆ อพยพสู่มณฑลยูนนาน และแหลมอินโดจีนต่อมาภายหลังเมื่อมีการศึกษาค้นคว้าทางด้านมานุษยวิทยาและ ภาษาศาสตร์รวมทั้งการตรวจสอบหลักฐานจดหมายเหตุของจีนเป็นจำนวนมาก ปรากฏว่าสมมติฐานดังกล่าวไม่น่าจะเป็นไปได้ทำให้แนวความคิดที่ว่าคนไทยมี ีถิ่นฐานเดิมอยู่บริเวณมณฑลเสฉวนของจีน ไม่ได้รับการยอมรับอีกต่อไป </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n <strong> <span style=\"background-color: #3366ff; color: #ffffff\">3. แนวคิดที่เชื่อว่าชนชาติไทยอยู่บริเวณทางใต้ของจีน และทางตอนเหนือของภาคพื้น  เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนบริเวณรัฐอัสสัมของอินเดีย </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19918/m1.jpg\" style=\"width: 381px; height: 237px\" height=\"341\" width=\"400\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา <a href=\"http://www.snr.ac.th/elearning/naiyana/images/m1.jpg\">http://www.snr.ac.th/elearning/naiyana/images/m1.jpg</a><br />\n    \n</p>\n<p>\n      <span style=\"color: #3366ff\"><em>อาร์ซิบอล อาร์ โคลฮูน</em> นักสำรวจชาวอังกฤษ ได้เขียนรายงานการสำรวจที่ปรากฏอยู่ ในหนังสือชื่อ ไครเซ ซึ่งตีพิมพ์ในประเทศอังกฤษเมื่อ พ.ศ. 2428 ได้พบคนเชื้อชาติไทยในบริเวณภาคใต้ของจีนตั้งแต่กวางตุ้งไปจนถึงมัณฑะเลย์ในพม่า วูลแฟรม อีเบอร์ฮาด นักสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา ชาวเยอรมันได้กล่าวว่า เผ่าไทยอยู่บริเวณมณฑลกวางตุ้ง ต่อมาชนเผ่าไทยได้อพยพเข้าสู่ยูนานและดินแดนในอ่าวตังเกี๋ย และได้มาสร้างอาณาจักรเทียนหรือแถน ที่ยูนนานซึ่งตรงกับสมัย ราชวงศ์ฮั่นของจีน เมื่อถึงสมัยราชวงศ์ถังเผ่าไทยก็สถาปนาอาณาจักรน่านเจ้าขึ้นที่ยูนนาน <br />\n    <em> วิลเลียม เจ. เก็ตนีย์</em> นักภาษาศาสตร์ชาวอเมริกันผู้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภาษาไทยในเวียดนามตอนเหนือ ลาว และจีนตอนใต้ ได้เสนอความเห็นไว้เมื่อ พ.ศ. 2508 ว่า ถิ่นกำเนิดของภาษาไทยมิได้อยู่ทางมณฑลยูนนาน แต่อยู่ที่มณฑลทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีนแถวเส้นเขตแดนระหว่างมณฑลกวางสีของจีนกับ เมืองเดียนเบียนฟูของเวียดนามตอนเหนือ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #3366ff; color: #ffffff\">4. แนวความคิดที่เชื่อว่าชนชาติไทยตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณพื้นที่ที่เป็นประเทศไทยใน ปัจจุบัน</span></strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19918/09505_002.gif\" style=\"width: 251px; height: 313px\" height=\"559\" width=\"320\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา <a href=\"http://travel.sanook.com/story_picture/m/09505_002.gif\">http://travel.sanook.com/story_picture/m/09505_002.gif</a>\n</div>\n<p>\n<br />\n     <span style=\"color: #3366ff\">คอริช เวลส์ เป็นนักวิชาการตะวันตกคนแรกที่เสนอสมมติฐานว่า ถิ่นเดิมของชนชาติไทย อยู่บริเวณประเทศไทยปัจจุบัน โดยอาศัยหลักฐานจากกะโหลกศรีษะ ที่ขุดได้จากตำบลพงตึก จังหวัดกาญจนบุรีที่มีอายุราวต้นคริสต์ศตวรรษ ซึ่งเวลส์เห็นว่ามีลักษณะใกล้เคียงกับกระโหลกศรีษะของคนไทยปัจจุบัน นายแพทย์สุด แสงวิเชียร ได้ทำการศึกษาโครงกระดูกมนุษย์ยุคหินใหม่ 37 โครง ซึ่งพบบริเวณสองฝั่งแม่น้ำแควน้อยและแควใหญ่ จังหวัดกาญจนบุรี พบว่าโครงกระดูกของ มนุษย์หินใหม่เหมือนกับโครงกระดูกของคนไทยปัจจุบันเกือบทุกอย่าง จึงสรุปว่าดินแดนไทยเมื่อครั้งอดีตน่าจะเป็นที่อยู่อาศัยของบรรพบุรุษของคนไทยปัจจุบัน มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์แล้ว<br />\n     ศาสตราจารย์ชิน อยู่ดี ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโบราณคดี ได้เสนอว่า มีร่องรอยของผู้คนอาศัยอยู่ตั้งแต่ยุคหินเก่าเรื่อยมาจนกระทั่งยุคหินกลาง หินใหม่ ยุคโลหะ และเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ โดยแต่ละยุคได้มีการสืบเนื่องทางวัฒนธรรมสืบต่อมาจนถึงปัจจุบันด้วย แนวความคิดนี้มีนักวิชาการหลายท่านพยายามนำหลักฐานทาง ด้านโบราณคดีและเอกสารมาพิสูจน์ให้เห็นจริงว่าคนไทยน่าจะอยู่บริเวณนี้มาก่อน โดยไม่ได้อพยพมาจากดินแดนอื่นที่อยู่ห่างไกลออกไป ซึ่งแนวความคิดนี้ในปัจจุบัน ยังไม่ถือว่าเป็นข้อยุติ </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #3366ff; color: #ffffff\">5. แนวความคิดที่เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของชนชาติไทยอยู่บริเวณคาบสมุทรอินโดจีนหรือ คาบสมุทรมลายูบริเวณหมู่เกาะชวา</span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n    <span style=\"color: #3366ff\"> นายแพทย์สมศักดิ์ พันธุ์สมบุญ ได้ทำวิจัยทางด้านพันธุศาสตร์เกี่ยวกับหมู่เลือดลักษณะของ จำนวนยีน พบว่าหมู่เลือดของคนไทยคล้ายคลึงกับชาวเกาะชวา ที่อยู่ทางใต้มากกว่าคนจีนซึ่งอยู่ทางเหนือ รวมทั้งลักษณะและจำนวนของยีนระหว่างคนไทยกับคนจีนก็ไม่เหมือนกันด้วย<br />\n     ดร.ถาวร วัชราภัย ได้ทำวิจัยกลุ่มเลือดที่ทันสมัย สรุปได้ว่าไทยดำและผู้ไทยมีลักษณะเลือดใกล้เคียงกับชาวจีน แต่ไม่ใกล้เคียงกับชาวมาเลย์ แต่ชาวมาเลย์มี ลักษณะเลือดใกล้เคียงกับชาวเขมร ขากรรไกรและฟันก็ได้ผลเช่นเดียวกัน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประเวศ วะสี ได้ทำผลงานการวิจัยเรื่องฮีโมโกลบิน อี พบว่า ฮีโมโกลบิน อี มีมากในผู้คนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ ไทย ลาว เขมร พม่า มอญ และอื่น ๆ คนจีนเกือบไม่มีอยู่เลย แต่ปัจจุบันนี้ได้เลิกใช้ฮีโมโกลบิน อี เป็นเครื่องพิสูจน์ว่ากลุ่มใดมีบรรพบุรุษร่วมกับกลุ่มใด เพราะมีการพิสูจน์ได้ว่าดินแดนที่มีฮีโมโกลบิน อี มาก คือดินแดนที่มีไข้มาลาเรียมาก แนวความคิดนี้ปัจจุบัน ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใดและยังไม่เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางนัก </span>\n</p>\n<p>\n<strong><a href=\"/node/43268\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19918/428b9df0c7839695fb139e940453ca71_copy.jpg\" height=\"90\" width=\"60\" /></a></strong>\n</p>\n', created = 1715459718, expire = 1715546118, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b9bb46f9cd5aba737cd5c2851443ec9c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แนวความคิดเกี่ยวกับคนไทย

       

       การศึกษาเกี่ยวกับที่มาของชนชาติไทยยังคงเป็นประเด็นถกเถียงกันอยู่และหาข้อยุติแน่นอนไม่ได้ แต่ข้อสันนิษฐานหรือแนวคิดต่าง ๆ ที่มีหลักฐานน่าเชื่อถือมีผล ให้การศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชนชาติไทยมีความชัดเจนมากขึ้น สรุปได้เป็น 5 แนวทาง ดังนี้

1. แนวคิดที่เชื่อว่าชนชาติไทยอยู่บริเวณเอเชียกลาง

ที่มา http://th.thaiembassymoscow.com/articles/viewimage.php?file=71


           แนวคิดนี้เกิดขึ้นหลัง พ.ศ. 2450 เป็นต้นมา โดยนักประวัติศาสตร์ในช่วงนั้นต่างมีความเชื่อกันว่าแหล่งกำเนิดอารยธรรมของโลกมีจุดกำเนิดอยู่ทางแถบ เอเชียกลางใกล้ทะเลแคสเปียน ก่อนที่กระจายไปยังทิศทางต่าง ๆ ดร.วิลเลียม คลิฟตัน ดอดหมอสอนศาสนาชาวอเมริกันได้นำความเชื่อนี้ไปกล่าวไว้ในงานเขียน เกี่ยวกับชนชาติไทยของเขาว่าพวกมุงซึ่งเชื่อกันว่าเป็นบรรพบุรุษของคนไทยได้อพยพโยกย้ายถิ่นฐานมาจากถิ่นกำเนิดของตนในเอเชียกลางมายังชายแดนด้าน ตะวันตกของจีน
          ขุนวิจิตรมาตรา ( สง่า กาญจนาคพันธ์ ) ได้แสดงความคิดเห็นไว้ในหนังสือหลักไท ( พ.ศ. 2471 ) เชื่อว่าแหล่งกำเนิดของชนชาติไทยอยู่บริเวณเทือกเขา ิอัลไตของเอเชียกลาง ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของพวกมองโกลด้วยกัน ภายหลังจึงได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานแถบบริเวณลุ่มแม่น้ำเหลือง และแม่น้ำแยงซีต่อมาเมื่อถูกรุกราน จึงค่อย ๆ อพยพลงมาสู่สุวรรณภูมิต่อมาภายหลัง เมื่อมีการศึกษาทางด้านโบราณคดีและด้านภูมิศาสตร์ ทำให้แนว ความคิดนี้ไม่ได้รับการยอมรับอีกต่อไปเพราะทาง แถบบริเวณเทือกเขาอัลไตของเอเชียกลางนั้นเป็นเขตแห้งแล้ง อากาศมีความหนาวเย็น และถ้าอพยพโยกย้ายลงมาก็ต้องผ่านทะเลทรายที่กว้างใหญ่และทุรกันดารมาก จึงไม่เหมาะสำหรับจะเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์

2. แนวคิดที่เชื่อว่าชนชาติไทยอยู่บริเวณมณฑลเสฉวน

ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6-4/no12-14-45/china/picture/sechun.jpg


      เทเรียน เดอ ลา คูเปอรี ศาสตราจารย์ชาวฝรั่งเศส เจ้าของแนวความคิดที่เชื่อว่าความเป็น มาของคนไทยอยู่บริเวณมณฑลเสฉวนของจีนได้แสดงความ เห็นไว้ว่า คนเชื้อชาติไทยตั้งถิ่นฐานเป็นอาณาจักรอยู่ในดินแดนจีนมาก่อน เมื่อประมาณ 2,208 ปีก่อนคริสตกาล ชนชาติ " ไท"ได้ถูกระบุไว้ในรายงานสำรวจ ภูมิประเทศจีนในสมัยพระเจ้ายู้ จีนเรียกชนชาติไทยว่า "มุง" หรือ "ต้ามุง" ถิ่นที่อยู่ของคนไทยซึ่งปรากฏในจดหมายเหตุจีนนี้อยู่ในเขตที่เป็นมณฑลเสฉวนปัจจุบัน      สมเด็จ ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเสนอความเห็นไว้ว่า คนไทยน่าจะอยู่แถบดินแดนทิเบตต่อกับจีน ( มณฑลเสฉวนปัจจุบัน ) ราว พ.ศ. 500 ถูกจีนรุกรานจึงอพยพมาอยู่ที่ยูนนานทางตอนใต้ของจีน แล้วกระจายไปตั้งถิ่นฐานบริเวณเงี้ยว ฉาน สิบสองจุไท ล้านนา ล้านช้าง
      หลวงวิจิตรวาทการ ได้กล่าวถึงถิ่นกำเนิดของคนไทยไว้ว่า คนไทยมีถิ่นกำเนิดอยู่ในดินแดนซึ่งเป็นมณฑลเสฉวน ฮูเป อันฮุย และเกียงซีตอนกลางของ ประเทศจีนปัจจุบัน ก่อนที่จีนจะอพยพเข้ามา แล้วค่อย ๆ อพยพสู่มณฑลยูนนาน และแหลมอินโดจีนต่อมาภายหลังเมื่อมีการศึกษาค้นคว้าทางด้านมานุษยวิทยาและ ภาษาศาสตร์รวมทั้งการตรวจสอบหลักฐานจดหมายเหตุของจีนเป็นจำนวนมาก ปรากฏว่าสมมติฐานดังกล่าวไม่น่าจะเป็นไปได้ทำให้แนวความคิดที่ว่าคนไทยมี ีถิ่นฐานเดิมอยู่บริเวณมณฑลเสฉวนของจีน ไม่ได้รับการยอมรับอีกต่อไป


  3. แนวคิดที่เชื่อว่าชนชาติไทยอยู่บริเวณทางใต้ของจีน และทางตอนเหนือของภาคพื้น  เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนบริเวณรัฐอัสสัมของอินเดีย

ที่มา http://www.snr.ac.th/elearning/naiyana/images/m1.jpg
    

      อาร์ซิบอล อาร์ โคลฮูน นักสำรวจชาวอังกฤษ ได้เขียนรายงานการสำรวจที่ปรากฏอยู่ ในหนังสือชื่อ ไครเซ ซึ่งตีพิมพ์ในประเทศอังกฤษเมื่อ พ.ศ. 2428 ได้พบคนเชื้อชาติไทยในบริเวณภาคใต้ของจีนตั้งแต่กวางตุ้งไปจนถึงมัณฑะเลย์ในพม่า วูลแฟรม อีเบอร์ฮาด นักสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา ชาวเยอรมันได้กล่าวว่า เผ่าไทยอยู่บริเวณมณฑลกวางตุ้ง ต่อมาชนเผ่าไทยได้อพยพเข้าสู่ยูนานและดินแดนในอ่าวตังเกี๋ย และได้มาสร้างอาณาจักรเทียนหรือแถน ที่ยูนนานซึ่งตรงกับสมัย ราชวงศ์ฮั่นของจีน เมื่อถึงสมัยราชวงศ์ถังเผ่าไทยก็สถาปนาอาณาจักรน่านเจ้าขึ้นที่ยูนนาน
     วิลเลียม เจ. เก็ตนีย์ นักภาษาศาสตร์ชาวอเมริกันผู้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภาษาไทยในเวียดนามตอนเหนือ ลาว และจีนตอนใต้ ได้เสนอความเห็นไว้เมื่อ พ.ศ. 2508 ว่า ถิ่นกำเนิดของภาษาไทยมิได้อยู่ทางมณฑลยูนนาน แต่อยู่ที่มณฑลทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีนแถวเส้นเขตแดนระหว่างมณฑลกวางสีของจีนกับ เมืองเดียนเบียนฟูของเวียดนามตอนเหนือ

 

4. แนวความคิดที่เชื่อว่าชนชาติไทยตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณพื้นที่ที่เป็นประเทศไทยใน ปัจจุบัน


     คอริช เวลส์ เป็นนักวิชาการตะวันตกคนแรกที่เสนอสมมติฐานว่า ถิ่นเดิมของชนชาติไทย อยู่บริเวณประเทศไทยปัจจุบัน โดยอาศัยหลักฐานจากกะโหลกศรีษะ ที่ขุดได้จากตำบลพงตึก จังหวัดกาญจนบุรีที่มีอายุราวต้นคริสต์ศตวรรษ ซึ่งเวลส์เห็นว่ามีลักษณะใกล้เคียงกับกระโหลกศรีษะของคนไทยปัจจุบัน นายแพทย์สุด แสงวิเชียร ได้ทำการศึกษาโครงกระดูกมนุษย์ยุคหินใหม่ 37 โครง ซึ่งพบบริเวณสองฝั่งแม่น้ำแควน้อยและแควใหญ่ จังหวัดกาญจนบุรี พบว่าโครงกระดูกของ มนุษย์หินใหม่เหมือนกับโครงกระดูกของคนไทยปัจจุบันเกือบทุกอย่าง จึงสรุปว่าดินแดนไทยเมื่อครั้งอดีตน่าจะเป็นที่อยู่อาศัยของบรรพบุรุษของคนไทยปัจจุบัน มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์แล้ว
     ศาสตราจารย์ชิน อยู่ดี ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโบราณคดี ได้เสนอว่า มีร่องรอยของผู้คนอาศัยอยู่ตั้งแต่ยุคหินเก่าเรื่อยมาจนกระทั่งยุคหินกลาง หินใหม่ ยุคโลหะ และเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ โดยแต่ละยุคได้มีการสืบเนื่องทางวัฒนธรรมสืบต่อมาจนถึงปัจจุบันด้วย แนวความคิดนี้มีนักวิชาการหลายท่านพยายามนำหลักฐานทาง ด้านโบราณคดีและเอกสารมาพิสูจน์ให้เห็นจริงว่าคนไทยน่าจะอยู่บริเวณนี้มาก่อน โดยไม่ได้อพยพมาจากดินแดนอื่นที่อยู่ห่างไกลออกไป ซึ่งแนวความคิดนี้ในปัจจุบัน ยังไม่ถือว่าเป็นข้อยุติ

5. แนวความคิดที่เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของชนชาติไทยอยู่บริเวณคาบสมุทรอินโดจีนหรือ คาบสมุทรมลายูบริเวณหมู่เกาะชวา


     นายแพทย์สมศักดิ์ พันธุ์สมบุญ ได้ทำวิจัยทางด้านพันธุศาสตร์เกี่ยวกับหมู่เลือดลักษณะของ จำนวนยีน พบว่าหมู่เลือดของคนไทยคล้ายคลึงกับชาวเกาะชวา ที่อยู่ทางใต้มากกว่าคนจีนซึ่งอยู่ทางเหนือ รวมทั้งลักษณะและจำนวนของยีนระหว่างคนไทยกับคนจีนก็ไม่เหมือนกันด้วย
     ดร.ถาวร วัชราภัย ได้ทำวิจัยกลุ่มเลือดที่ทันสมัย สรุปได้ว่าไทยดำและผู้ไทยมีลักษณะเลือดใกล้เคียงกับชาวจีน แต่ไม่ใกล้เคียงกับชาวมาเลย์ แต่ชาวมาเลย์มี ลักษณะเลือดใกล้เคียงกับชาวเขมร ขากรรไกรและฟันก็ได้ผลเช่นเดียวกัน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประเวศ วะสี ได้ทำผลงานการวิจัยเรื่องฮีโมโกลบิน อี พบว่า ฮีโมโกลบิน อี มีมากในผู้คนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ ไทย ลาว เขมร พม่า มอญ และอื่น ๆ คนจีนเกือบไม่มีอยู่เลย แต่ปัจจุบันนี้ได้เลิกใช้ฮีโมโกลบิน อี เป็นเครื่องพิสูจน์ว่ากลุ่มใดมีบรรพบุรุษร่วมกับกลุ่มใด เพราะมีการพิสูจน์ได้ว่าดินแดนที่มีฮีโมโกลบิน อี มาก คือดินแดนที่มีไข้มาลาเรียมาก แนวความคิดนี้ปัจจุบัน ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใดและยังไม่เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางนัก

สร้างโดย: 
2N

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 208 คน กำลังออนไลน์