• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:269989cc5656955bb8cd572c01890a30' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #cc99ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19918/Untitled-10.gif\" height=\"192\" width=\"461\" /></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #cc99ff\">หลักฐานทางประวัติศาสตร์</span></strong>\n</p>\n<p>\n       <span style=\"color: #ff0000\">ในการศึกษาประวัติศาสตร์ จำเป็นต้องอาศัยหลักฐานต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ มาศึกษาวิเคราะห์ ตีความเรื่องราว และตรวจสอบความถูกต้องของเรื่องราวเหตุการณ์นั้นๆ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">หลักฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราวประวัติความเป็นมาของมนุษย์ เรียกว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ซึ่งสามารถแยกได้ดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"background-color: #c0c0c0\"><strong><em>1. หลักฐานทางศิลปกรรมและโบราณคดี</em></strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">      <span style=\"color: #000000\"> หลักฐานทางศิลปกรรมที่สำคัญ คือ ศิลปวัตถุแบบอู่ทอง ศิลปวัตถุแบบลพบุรี ศิลปวัตถุแบบทวารวดี นอกจากนี้ได้แก่เหรียญกษาปณ์ ซากอิฐปูนของวัดวาอาราม พระพุทธรูป เครื่องใช้ตามบ้านเรือน ฯลฯ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>  </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"background-color: #c0c0c0; color: #ff0000\"><strong><em>2. หลักฐานของจีนราชวงศ์ต่างๆ</em></strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">        โดยเฉพาะหลักฐานของจีนสมัยราชวงศ์ฮั่น บันทึกของนักพรต นักบวช เช่น บันทึกของสุมาเจียน จูตากวน และหลักฐานของจีนที่ปรากฏในพงศาวดารภาคต่างๆ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"background-color: #c0c0c0; color: #ff0000\"><strong><em>3. หลักฐานที่เป็นหนังสือเก่า</em></strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">     หนังสือเก่านั้นมักจะเขียนลงบนสมุดข่อยหรือใบลาน เช่น ตำนานสิงหนวัติ (เล่าเรื่อง </span><span style=\"color: #000000\">ตั้งแต่พระเจ้าสิงหนวัติอพยพมาจากเหนือ) , จามเทวีวงศ์ (เป็นเรื่องเมืองหริภุญไชย) , รัตนพิมพ์วงศ์ (เป็นตำนานพระแก้วมรกต) , สิหิงคนิทาน (เป็นประวัติพุทธศาสนาและประวัติเมืองต่างๆ ในลานนาไทย) , จุลลยุทธกาลวงศ์ (เป็นพงศาวดารไทย ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ทอง ตลอดสมัยอยุธยา) , ตำนานสุวรรณโคมคำ และตำนานมูลศาสนา (เป็นเรื่องราวประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"> ปัญหาของหลักฐานที่เป็นหนังสือเก่า คือ เราไม่ทราบว่าผู้บันทึกเขียนไว้เมื่อไร มีความจริงแค่ไหน และแต่งเติมเพียงใด</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"background-color: #c0c0c0; color: #ff0000\"><strong><em> 4. หลักฐานที่เป็นศิลาจารึก</em></strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\">           ศิลาจารึกถือว่าเป็นหลักฐานที่สำคัญมากในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยในระยะเริ่มแรกสมัยสุโขทัย ที่สำคัญได้แก่ ศิลาจารึกหลักที่ 1 (จารึกพ่อขุนรามคำแหง) , ศิลาจารึกหลักที่ 2 (จารึกวัดศรีชุม) , ศิลาจารึกหลักที่ 3 (จารึกนครชุม) , ศิลาจารึกหลักที่ 4 (จารึกวัดป่ามะม่วง) , ศิลาจารึกหลักที่ 8 ข. (จารึกวัดพระมหาธาตุ) , จารึกหลักที่ 24 (จารึกวัดหัวเวียงไชยา) , จารึกหลักที่ 35 (จารึกดงแม่นางเมือง นครสวรรค์) , จารึกหลักที่ 62 (จารึกวัดพระยืน ลำพูน) ฯลฯ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"background-color: #c0c0c0; color: #ff0000\"><em><strong>5. หลักฐานพวกที่เป็นพงศาวดาร</strong></em></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">พระราชพงศาวดารสยามมีมากมาย แต่ที่มีความสำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ไทย ได้แก่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">5.1 พระราชพงศาวดารสยามที่แต่งในสมัยอยุธยา คือ ฉบับหลวงประเสริฐ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">5.2 พระราชพงศาวดารสยามที่แต่งในสมัยรัตนโกสินทร์ แยกเป็น 3 รัชกาล คือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">5.2.1 ฉบับรัชกาลที่ 1 มี 4 สำนวน คือ ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) , ฉบับเจ้าพระยาพิพิธพิชัย , ฉบับพระพันรัตน์ , ฉบับบริติชมิวเซียม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">5.2.2 ฉบับรัชกาลที่ 3 มี 1 สำนวน คือ ฉบับสมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">5.2.3 ฉบับรัชกาลที่ 4 มี 4 สำนวน คือ ฉบับพระราชหัตถเลขา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">5.3 พระราชพงศาวดารฉบับอื่นๆ คือ พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับพระ จักรพรรดิพงศ์ (จาด) พงศาวดารเหนือ พงศาวดารโยนก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><a href=\"/node/43268\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19918/428b9df0c7839695fb139e940453ca71_copy.jpg\" height=\"90\" width=\"60\" /></a></strong></span>\n</p>\n', created = 1715484605, expire = 1715571005, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:269989cc5656955bb8cd572c01890a30' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลักฐานทางประวัติศาสตร์

หลักฐานทางประวัติศาสตร์

       ในการศึกษาประวัติศาสตร์ จำเป็นต้องอาศัยหลักฐานต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ มาศึกษาวิเคราะห์ ตีความเรื่องราว และตรวจสอบความถูกต้องของเรื่องราวเหตุการณ์นั้นๆ

หลักฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราวประวัติความเป็นมาของมนุษย์ เรียกว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ซึ่งสามารถแยกได้ดังนี้

1. หลักฐานทางศิลปกรรมและโบราณคดี

       หลักฐานทางศิลปกรรมที่สำคัญ คือ ศิลปวัตถุแบบอู่ทอง ศิลปวัตถุแบบลพบุรี ศิลปวัตถุแบบทวารวดี นอกจากนี้ได้แก่เหรียญกษาปณ์ ซากอิฐปูนของวัดวาอาราม พระพุทธรูป เครื่องใช้ตามบ้านเรือน ฯลฯ

 

2. หลักฐานของจีนราชวงศ์ต่างๆ

        โดยเฉพาะหลักฐานของจีนสมัยราชวงศ์ฮั่น บันทึกของนักพรต นักบวช เช่น บันทึกของสุมาเจียน จูตากวน และหลักฐานของจีนที่ปรากฏในพงศาวดารภาคต่างๆ

 

3. หลักฐานที่เป็นหนังสือเก่า

     หนังสือเก่านั้นมักจะเขียนลงบนสมุดข่อยหรือใบลาน เช่น ตำนานสิงหนวัติ (เล่าเรื่อง ตั้งแต่พระเจ้าสิงหนวัติอพยพมาจากเหนือ) , จามเทวีวงศ์ (เป็นเรื่องเมืองหริภุญไชย) , รัตนพิมพ์วงศ์ (เป็นตำนานพระแก้วมรกต) , สิหิงคนิทาน (เป็นประวัติพุทธศาสนาและประวัติเมืองต่างๆ ในลานนาไทย) , จุลลยุทธกาลวงศ์ (เป็นพงศาวดารไทย ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ทอง ตลอดสมัยอยุธยา) , ตำนานสุวรรณโคมคำ และตำนานมูลศาสนา (เป็นเรื่องราวประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย)

 ปัญหาของหลักฐานที่เป็นหนังสือเก่า คือ เราไม่ทราบว่าผู้บันทึกเขียนไว้เมื่อไร มีความจริงแค่ไหน และแต่งเติมเพียงใด

 

 4. หลักฐานที่เป็นศิลาจารึก

           ศิลาจารึกถือว่าเป็นหลักฐานที่สำคัญมากในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยในระยะเริ่มแรกสมัยสุโขทัย ที่สำคัญได้แก่ ศิลาจารึกหลักที่ 1 (จารึกพ่อขุนรามคำแหง) , ศิลาจารึกหลักที่ 2 (จารึกวัดศรีชุม) , ศิลาจารึกหลักที่ 3 (จารึกนครชุม) , ศิลาจารึกหลักที่ 4 (จารึกวัดป่ามะม่วง) , ศิลาจารึกหลักที่ 8 ข. (จารึกวัดพระมหาธาตุ) , จารึกหลักที่ 24 (จารึกวัดหัวเวียงไชยา) , จารึกหลักที่ 35 (จารึกดงแม่นางเมือง นครสวรรค์) , จารึกหลักที่ 62 (จารึกวัดพระยืน ลำพูน) ฯลฯ

 

5. หลักฐานพวกที่เป็นพงศาวดาร

พระราชพงศาวดารสยามมีมากมาย แต่ที่มีความสำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์

ไทย ได้แก่

5.1 พระราชพงศาวดารสยามที่แต่งในสมัยอยุธยา คือ ฉบับหลวงประเสริฐ

5.2 พระราชพงศาวดารสยามที่แต่งในสมัยรัตนโกสินทร์ แยกเป็น 3 รัชกาล คือ

5.2.1 ฉบับรัชกาลที่ 1 มี 4 สำนวน คือ ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) , ฉบับเจ้าพระยาพิพิธพิชัย , ฉบับพระพันรัตน์ , ฉบับบริติชมิวเซียม

5.2.2 ฉบับรัชกาลที่ 3 มี 1 สำนวน คือ ฉบับสมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส

5.2.3 ฉบับรัชกาลที่ 4 มี 4 สำนวน คือ ฉบับพระราชหัตถเลขา

5.3 พระราชพงศาวดารฉบับอื่นๆ คือ พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับพระ จักรพรรดิพงศ์ (จาด) พงศาวดารเหนือ พงศาวดารโยนก

 

สร้างโดย: 
2N

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 234 คน กำลังออนไลน์