• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7a46bb8106fd35705fdfc4002efe55d7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"><img src=\"/files/u20352/Untitled-5.jpg\" border=\"0\" width=\"271\" height=\"112\" /> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">     เมื่อก้าวเข้าสู่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยุคของการเริ่มติดต่อทำการค้ากับชาวต่างชาติ  ซึ่งก็คือผู้นำเอาเจ้าสิ่งประดิษฐ์ที่เรียกว่า \' นาฬิกา\' เข้ามาด้วยหน้าตาและชื่อที่ไม่ค่อยคุ้นหูคนไทยในตอนแรกสักเท่าไหร่  และถือเป็นจุดจบของการดูเวลาแบบภูมิปัญญาพื้นบ้านซึ่งอาศัยวิธีธรรมชาติ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #999999\"><img src=\"/files/u20352/2009-11-24_203535.gif\" alt=\"นาฬิกาแดด\" border=\"0\" width=\"262\" height=\"273\" /></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #999999\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">     เช่น นาฬิกาแดด เทียบเวลากับเงาสะท้อนจากแสงอาทิตย์ที่ลอดส่องผ่านช่องหินที่นำมาเรียงต่อกัน  หรือผ่านโครงเหล็กง่ายๆไม่ได้บรรจุกลไกอันใดอย่างนาฬิกาแดดของประเทศจีน  ไปจนถึงวิธีง่ายๆกับการเงยดูตำแหน่งของดวงอาทิตย์ของคนไทยในที่สุด  ถ้าให้กำหนดเวลาที่แน่นอนของการเข้ามาที่มีบทบาทของนาฬิกาในประเทศไทยจริงๆ คงต้องเริ่มจากกษัตริย์ผู้ทรงเป็นผู้นำแห่งเทคโนโลยีและทรงนำเอาอิทธิพลตะวันตกต่างๆเข้ามาดัดแปลงใช้ในประเทศไทยนั่นคือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรีนอกจากบทบาททางการค้ากับเหล่านานาอารยประเทศที่พระองค์ทรงมีแล้ว  พระองค์ยังได้นำอาสิ่งประดิษฐ์มากมายอันเป็นประโยชน์ต่อประชาชนชาวไทยและเหล่าขุนนางข้าราชบริพารในการบริหารประเทศเข้ามาด้วย หนึ่งในสิ่งประดิษฐ์เหล่านั่นก็คือ\'เครื่องบอกเวลา\' หรือนาฬิกานั่นเอง  </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #999999\"><img src=\"/files/u20352/2009-11-24_204553.gif\" alt=\"นาฬิกาตุ้มถ่วง\" border=\"0\" width=\"309\" height=\"261\" /></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #999999\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">     ในยุคสมัยของพระองค์นั้นได้มีการนำเข้านาฬิกาตั้งพื้นหรือที่เรียกกันว่า \'นาฬิกาตุ้มถ่วง\' ส่วนใหญ่มีฐานการผลิตอยู่ในประเทศแถบตะวันตก  แต่เมื่อพระองค์ทรงสั่งทำและนำเข้ามายังประเทศไทยเป็นพิเศษ  จึงได้มีการดัดแปลงหน้าปัด  โดยเฉพาะการใช้ตัวเลขไทยสำหรับบอกชั่วโมงแทนตัวเลขอารบิคซึ่ง ณ เวลาต่อมาได้กลายเป็นกระแสความนิยมเป็นอย่างมาก  และในขณะเดียวกันก็เกิดการนำเข้านาฬิกาตั้งพื้นในวงกว้างมากขึ้นโดยบริษัทเอกชนหลายๆบริษัท ต่อมาล้วนมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักในฐานะผู้นำเข้านาฬิกา  บริษัทเหล่านี้มักนิยมจารึกชื่อบริษัทตัวเองไว้บนพื้นหน้าปัดของนาฬิกาตุ้มถ่วงจนกลายเป็นธรรมเนียมอย่างหนึ่งก็ว่าได้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">     องค์ประกอบหลักๆของนาฬิกาตุ้มถ่วงในยุคนั้นจะประกอบไปด้วย \'กลไกไขลาน\' มีตัวตุ้มถ่วงและสายแขวนตุ้มเป็นชิ้นส่วนหลัก  และที่พิเศษกว่าในปัจจุบันคือยุคนั้นสายแขวนตุ้มจะทำมาจากสายซอ  ที่เชื่อกันว่ามีคุณภาพดีและคงทน  จนนาฬิกาประเภทนี้ได้รับการขนานนามกันอีกชื่อว่า \'นาฬิกาไหมซอ\' ในส่วนของหน้าปัดนาฬิกานิยมทำจากกระเบื้องเผาที่มีความคงทน  เมื่อเคลือบและเผาทับกับตัวเลขและอักษรจารึกต่างๆแล้ว  ตัวอักษรเหล่านี้จะอยู่คงทนไม่มีการลบเลือน ถือเป็นความประณีตและความพิถีพิถันของคนสมัยก่อนเป็นอย่างยิ่ง  ส่วนอีกความโดดเด่นของนาฬิกาตั้งพื้นก็คือ ตัวไม้ที่นำมาหุ้มส่วนประกอบสำคัญของนาฬิกาและกลายเป็นตู้ไม้ที่งดงามวิจิตรบรรจงเหมาะกับการเป็นของตกแต่งบ้านและสถานที่ต่างๆได้เป็นอย่างดี  ส่วนแหล่งผลิตสำคัญของนาฬิกาตั้งพื้นมีกระจัดกระจายอยู่หลายที่  แต่ที่นิยมและนำเข้ามาในประเทศไทยมากที่สุดเห็นจะเป็นนาฬิกาจากกรุงปารีส   จนคนไทยเรียกติดปากว่า \'นาฬิกาปารีส \'หรือนาฬิกาจากอังกฤษที่เรียกว่า \'นาฬิกาลอนดอน\' และนาฬิกาจากเวียนนา  ที่คนไทยเรียกว่า \'นาฬิกาเวียนนา\' ระยะหลังนาฬิกาเวียนนากับได้รับความนิยมเป็นอย่างมากจนกลายเป็นนาฬิกาขายดีและพบเห็นได้ทั่วไปในสมัยนั้น</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/46532\"><img src=\"/files/u20352/Untitled-02.jpg\" alt=\"กลับสู่หน้าเมนู\" border=\"0\" width=\"133\" height=\"30\" /></a><span style=\"color: #999999\">    <img src=\"/files/u20352/bow.jpg\" border=\"0\" width=\"23\" height=\"15\" />    <a href=\"/node/43294\"><img src=\"/files/u20352/Untitled-4.jpg\" alt=\"กลับสู่หน้าหลัก\" border=\"0\" width=\"129\" height=\"25\" /></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\">                         </span><a href=\"/43942\"><span style=\"color: #33cccc\"><img src=\"http://i24.photobucket.com/albums/c39/YakOji/7dvrh-1.jpg\" border=\"0\" width=\"20\" height=\"20\" /></span></a><span style=\"color: #33cccc\"> <span style=\"color: #33cccc\">เทคโนโลยีคืออะไร ?</span>                                     </span><a href=\"/45799\"><span style=\"color: #33cccc\"><img src=\"http://i24.photobucket.com/albums/c39/YakOji/7dvrh-1.jpg\" border=\"0\" width=\"20\" height=\"20\" /></span></a><span style=\"color: #33cccc\"> การปรับตัวให้เข้ากับความเป็นจริงของยุคใหม่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\">                         </span><a href=\"/47557\"><span style=\"color: #33cccc\"><img src=\"http://i24.photobucket.com/albums/c39/YakOji/7dvrh-1.jpg\" border=\"0\" width=\"20\" height=\"20\" /></span></a><span style=\"color: #33cccc\"> เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต                        </span><a href=\"/47566\"><span style=\"color: #33cccc\"><img src=\"http://i24.photobucket.com/albums/c39/YakOji/7dvrh-1.jpg\" border=\"0\" width=\"20\" height=\"20\" /></span></a><span style=\"color: #33cccc\"> แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีขององค์การ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\">                         </span><a href=\"/43962\"><span style=\"color: #33cccc\"><img src=\"/files/u20352/7dvrh-1.jpg\" border=\"0\" width=\"20\" height=\"20\" /></span></a><span style=\"color: #33cccc\"> <span style=\"color: #33cccc\">การเปรียบเทียบระหว่างเทคโนโลยีเก่าและใหม่</span>      </span><a href=\"/51370\"><span style=\"color: #33cccc\"><img src=\"/files/u20352/7dvrh-1.jpg\" border=\"0\" width=\"20\" height=\"20\" /></span></a><span style=\"color: #33cccc\"> ผู้จัดทำ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726893621, expire = 1726980021, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7a46bb8106fd35705fdfc4002efe55d7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

นาฬิกา : เทคโนโลยีเก่า

 

     เมื่อก้าวเข้าสู่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยุคของการเริ่มติดต่อทำการค้ากับชาวต่างชาติ  ซึ่งก็คือผู้นำเอาเจ้าสิ่งประดิษฐ์ที่เรียกว่า ' นาฬิกา' เข้ามาด้วยหน้าตาและชื่อที่ไม่ค่อยคุ้นหูคนไทยในตอนแรกสักเท่าไหร่  และถือเป็นจุดจบของการดูเวลาแบบภูมิปัญญาพื้นบ้านซึ่งอาศัยวิธีธรรมชาติ

นาฬิกาแดด

 

     เช่น นาฬิกาแดด เทียบเวลากับเงาสะท้อนจากแสงอาทิตย์ที่ลอดส่องผ่านช่องหินที่นำมาเรียงต่อกัน  หรือผ่านโครงเหล็กง่ายๆไม่ได้บรรจุกลไกอันใดอย่างนาฬิกาแดดของประเทศจีน  ไปจนถึงวิธีง่ายๆกับการเงยดูตำแหน่งของดวงอาทิตย์ของคนไทยในที่สุด  ถ้าให้กำหนดเวลาที่แน่นอนของการเข้ามาที่มีบทบาทของนาฬิกาในประเทศไทยจริงๆ คงต้องเริ่มจากกษัตริย์ผู้ทรงเป็นผู้นำแห่งเทคโนโลยีและทรงนำเอาอิทธิพลตะวันตกต่างๆเข้ามาดัดแปลงใช้ในประเทศไทยนั่นคือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรีนอกจากบทบาททางการค้ากับเหล่านานาอารยประเทศที่พระองค์ทรงมีแล้ว  พระองค์ยังได้นำอาสิ่งประดิษฐ์มากมายอันเป็นประโยชน์ต่อประชาชนชาวไทยและเหล่าขุนนางข้าราชบริพารในการบริหารประเทศเข้ามาด้วย หนึ่งในสิ่งประดิษฐ์เหล่านั่นก็คือ'เครื่องบอกเวลา' หรือนาฬิกานั่นเอง 

นาฬิกาตุ้มถ่วง

 

     ในยุคสมัยของพระองค์นั้นได้มีการนำเข้านาฬิกาตั้งพื้นหรือที่เรียกกันว่า 'นาฬิกาตุ้มถ่วง' ส่วนใหญ่มีฐานการผลิตอยู่ในประเทศแถบตะวันตก  แต่เมื่อพระองค์ทรงสั่งทำและนำเข้ามายังประเทศไทยเป็นพิเศษ  จึงได้มีการดัดแปลงหน้าปัด  โดยเฉพาะการใช้ตัวเลขไทยสำหรับบอกชั่วโมงแทนตัวเลขอารบิคซึ่ง ณ เวลาต่อมาได้กลายเป็นกระแสความนิยมเป็นอย่างมาก  และในขณะเดียวกันก็เกิดการนำเข้านาฬิกาตั้งพื้นในวงกว้างมากขึ้นโดยบริษัทเอกชนหลายๆบริษัท ต่อมาล้วนมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักในฐานะผู้นำเข้านาฬิกา  บริษัทเหล่านี้มักนิยมจารึกชื่อบริษัทตัวเองไว้บนพื้นหน้าปัดของนาฬิกาตุ้มถ่วงจนกลายเป็นธรรมเนียมอย่างหนึ่งก็ว่าได้

     องค์ประกอบหลักๆของนาฬิกาตุ้มถ่วงในยุคนั้นจะประกอบไปด้วย 'กลไกไขลาน' มีตัวตุ้มถ่วงและสายแขวนตุ้มเป็นชิ้นส่วนหลัก  และที่พิเศษกว่าในปัจจุบันคือยุคนั้นสายแขวนตุ้มจะทำมาจากสายซอ  ที่เชื่อกันว่ามีคุณภาพดีและคงทน  จนนาฬิกาประเภทนี้ได้รับการขนานนามกันอีกชื่อว่า 'นาฬิกาไหมซอ' ในส่วนของหน้าปัดนาฬิกานิยมทำจากกระเบื้องเผาที่มีความคงทน  เมื่อเคลือบและเผาทับกับตัวเลขและอักษรจารึกต่างๆแล้ว  ตัวอักษรเหล่านี้จะอยู่คงทนไม่มีการลบเลือน ถือเป็นความประณีตและความพิถีพิถันของคนสมัยก่อนเป็นอย่างยิ่ง  ส่วนอีกความโดดเด่นของนาฬิกาตั้งพื้นก็คือ ตัวไม้ที่นำมาหุ้มส่วนประกอบสำคัญของนาฬิกาและกลายเป็นตู้ไม้ที่งดงามวิจิตรบรรจงเหมาะกับการเป็นของตกแต่งบ้านและสถานที่ต่างๆได้เป็นอย่างดี  ส่วนแหล่งผลิตสำคัญของนาฬิกาตั้งพื้นมีกระจัดกระจายอยู่หลายที่  แต่ที่นิยมและนำเข้ามาในประเทศไทยมากที่สุดเห็นจะเป็นนาฬิกาจากกรุงปารีส   จนคนไทยเรียกติดปากว่า 'นาฬิกาปารีส 'หรือนาฬิกาจากอังกฤษที่เรียกว่า 'นาฬิกาลอนดอน' และนาฬิกาจากเวียนนา  ที่คนไทยเรียกว่า 'นาฬิกาเวียนนา' ระยะหลังนาฬิกาเวียนนากับได้รับความนิยมเป็นอย่างมากจนกลายเป็นนาฬิกาขายดีและพบเห็นได้ทั่วไปในสมัยนั้น


กลับสู่หน้าเมนู        กลับสู่หน้าหลัก

                          เทคโนโลยีคืออะไร ?                                      การปรับตัวให้เข้ากับความเป็นจริงของยุคใหม่

                          เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต                         แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีขององค์การ

                          การเปรียบเทียบระหว่างเทคโนโลยีเก่าและใหม่       ผู้จัดทำ

 

สร้างโดย: 
นางสาวชวิศา ปิยานันทรักษ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 476 คน กำลังออนไลน์