• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ใช้สมุนไพรให้ถูกโรค.....(ต่อ)', 'node/49761', '', '52.14.17.40', 0, 'bf866f0ce40300a3a129bdbe1975f968', 138, 1717348745) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:532b084e012967344cc70017e7eea315' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">เศรษฐกิจพอเพียงกับ</span></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; font-family: Tahoma\"><br />\n<span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน</span><o:p></o:p></span></span></b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">การนำแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน สามารถกระทำได้ดังต่อไปนี้</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"></span></p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับบุคคลทั่วไป</span></b> <o:p></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เศรษฐกิจพอเพียงมีประโยชน์ต่อประชาชนทุกคนไม่ใช่เฉพาะแต่เกษตรกรเท่านั้น แต่ประชาชนโดยทั่วไปไม่ว่านิสิต นักศึกษา นักเรียน ข้าราชการ พนักงานบริษัทก็สามารถนำหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการเรียน การทำงาน ตลอดจนการดำเนินชีวิตประจำวันได้ ซึ่งสามารถกระทำได้ดังนี้</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Symbol\">·</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> ควรยึดหลักความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน และสละความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีพอย่างจริงจัง</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Symbol\">·</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> ควรประกอบอาชีพด้วยความสุจริตและถูกต้อง แม้จะเผชิญกับภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพก็ตาม</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Symbol\">·</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> ควรลดละการแก่งแย่งผลประโยชน์ และการแข่งบันทางการค้าขาย ตลอดจนการประกอบอาชีพที่มีการต่อสู้อย่างรุนแรง</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Symbol\">·</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> ควรขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้มีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงในการดำรงชีวิตเป็นเป้าหมายสำคัญ</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเกษตรกร</span></b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มีประโยชน์ต่อเกษตรกรเป็นอย่างมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวคิดที่เรียกว่า </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">“<span lang=\"TH\">การเกษตรทฤษฎีใหม่</span>” <span lang=\"TH\">เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรให้มีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนสามารถนำไปประยุกต์ ใช้ในการประกอบอาชีพ โดยจะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานหลักการทฤษฎีใหม่</span> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">สำหรับเกษตรกรนั้น แนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงตามแนวพระราชดำริจะตั้งอยู่บนพื้นฐานหลักการ </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">“<span lang=\"TH\">ทฤษฎีใหม่</span>” 3 <span lang=\"TH\">ขึ้นคือ</span> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><i><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ขั้นที่หนึ่ง</span></i><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> มีความพอเพียงเลี้ยงตัวเองได้บนพื้นฐานของความประหยัด ขจัดการใช้จ่าย</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><i><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ขั้นที่สอง</span></i><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> รวมพลังกันในรูปกลุ่ม เพื่อทำการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งด้านสวัสดิการ การศึกษา และการพัฒนาสังคม</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><i><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ขั้นที่สาม</span></i><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้หลากหลาย โดยประสานความร่วมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองค์กรพัฒนา ภาคเอกชน และภาครัฐ ในด้านเงินทุน การตลาด การผลิต การจัดการและข่าวสารข้อมูล</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"></span></p>\n<p><o:p></o:p><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><span>           </span><b><span lang=\"TH\">กรณีศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง</span></b><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานแนวการพัฒนาการเกษตรในเขตพื้นที่<span>  </span>ตามแนวพระราชดำรินี้ได้เริ่มต้นด้วยที่ดินจำนวน </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">15 <span lang=\"TH\">ไร่ ใกล้วัดมงคล</span> (<span lang=\"TH\">ภายหลังพระราชทานชื่อนี้ว่า วัดมงคลชัยพัฒนา) จัดทำเป็นศูนย์บริการและมีการขุดบ่อน้ำ เพื่อใช้ในการเพาะปลูก ทำให้สามารถปลูกข้าว ผัก และไม้ผลได้ ต่อมาได้ขยายพื้นที่เพิ่มอีก </span>30 <span lang=\"TH\">ไร่ เป็นศูนย์พัฒนาและได้แย่งที่ดินเป็น </span>3 <span lang=\"TH\">ส่วน กล่าวคือ ส่วนหนึ่งจัดสรรไว้สำหรับปลูกข้าว อีกส่วนหนึ่งจัดสรรสำหรับการปลูกพืชสวน พืชไร่ และอีกส่วนที่เหลือเป็นที่สำหรับบุคคล การดำเนินการได้ผลดีมาก สามารถสร้างกำไรได้</span> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ต่อมาได้ขยายโครงการมาใช้ที่อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ช่วยให้เกษตรกร ในพื้นที่ต้องประสบกับภาวะแห้งแล้ง การเกษตรต้องพึ่งพาน้ำฝน ก็สามารถมีเศรษฐกิจที่พอเพียง ได้จากเดิมซึ่งไม่สามารถผลิตข้าวได้พอกับความต้องการ เกษตรกรหลายรายที่เข้าร่วมโครงการประสบผลสำเร็จในพื้นที่ของตนเป็นอย่างดี</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">จากแนวคิดของระบบเศรษฐกิจพอเพียงดังกล่าวข้างต้น จึงนำไปสู่นโยบายตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการอำนวยการ หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์แห่งชาติ พ.ศ. </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">2544 <span lang=\"TH\">เพื่อส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการพัฒนาท้องถิ่น สร้างชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อพึ่งตนเองได้ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างงาน สร้างรายได้ ด้วยการนำทรัพยากรและภูมิปัญญาในท้องถิ่นมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีจุดเด่น และมีมูลค่าเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของท้องถิ่น</span> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ปรัชญาหรือแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับประเทศ แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง เป็นทางเลือกใหม่ของประชาชนชาวไทยเพื่อที่จะสามารถดำรงชีวิตแบบพออยู่พอกิน และสามารถพึ่งพาตนเองได้ เศรษฐกิจพอเพียงจึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ อันจะนำไปสู่สังคมที่มีคุณภาพทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                                                            </span><span>                           </span>แหล่งอ้างอิง </span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"><a href=\"http://www.chaiwit.ac.th/chaiwit02/p024.html\">http://www.chaiwit.ac.th/chaiwit<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">02/</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">p</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">024.</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">html</span></span></a></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">ผู้จัดทำ น.ส. สุจิตรา วิทยเบญจางค์ ม.5/1 เลขที่ 16 </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></span></span> </p>\n', created = 1717348765, expire = 1717435165, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:532b084e012967344cc70017e7eea315' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันของตัวเอง

เศรษฐกิจพอเพียงกับ
การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
การนำแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน สามารถกระทำได้ดังต่อไปนี้

เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับบุคคลทั่วไป เศรษฐกิจพอเพียงมีประโยชน์ต่อประชาชนทุกคนไม่ใช่เฉพาะแต่เกษตรกรเท่านั้น แต่ประชาชนโดยทั่วไปไม่ว่านิสิต นักศึกษา นักเรียน ข้าราชการ พนักงานบริษัทก็สามารถนำหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการเรียน การทำงาน ตลอดจนการดำเนินชีวิตประจำวันได้ ซึ่งสามารถกระทำได้ดังนี้ · ควรยึดหลักความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน และสละความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีพอย่างจริงจัง · ควรประกอบอาชีพด้วยความสุจริตและถูกต้อง แม้จะเผชิญกับภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพก็ตาม · ควรลดละการแก่งแย่งผลประโยชน์ และการแข่งบันทางการค้าขาย ตลอดจนการประกอบอาชีพที่มีการต่อสู้อย่างรุนแรง · ควรขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้มีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงในการดำรงชีวิตเป็นเป้าหมายสำคัญ เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเกษตรกร แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มีประโยชน์ต่อเกษตรกรเป็นอย่างมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวคิดที่เรียกว่า การเกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรให้มีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนสามารถนำไปประยุกต์ ใช้ในการประกอบอาชีพ โดยจะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานหลักการทฤษฎีใหม่ สำหรับเกษตรกรนั้น แนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงตามแนวพระราชดำริจะตั้งอยู่บนพื้นฐานหลักการ ทฤษฎีใหม่” 3 ขึ้นคือ ขั้นที่หนึ่ง มีความพอเพียงเลี้ยงตัวเองได้บนพื้นฐานของความประหยัด ขจัดการใช้จ่าย ขั้นที่สอง รวมพลังกันในรูปกลุ่ม เพื่อทำการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งด้านสวัสดิการ การศึกษา และการพัฒนาสังคม ขั้นที่สาม สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้หลากหลาย โดยประสานความร่วมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองค์กรพัฒนา ภาคเอกชน และภาครัฐ ในด้านเงินทุน การตลาด การผลิต การจัดการและข่าวสารข้อมูล

           กรณีศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานแนวการพัฒนาการเกษตรในเขตพื้นที่  ตามแนวพระราชดำรินี้ได้เริ่มต้นด้วยที่ดินจำนวน 15 ไร่ ใกล้วัดมงคล (ภายหลังพระราชทานชื่อนี้ว่า วัดมงคลชัยพัฒนา) จัดทำเป็นศูนย์บริการและมีการขุดบ่อน้ำ เพื่อใช้ในการเพาะปลูก ทำให้สามารถปลูกข้าว ผัก และไม้ผลได้ ต่อมาได้ขยายพื้นที่เพิ่มอีก 30 ไร่ เป็นศูนย์พัฒนาและได้แย่งที่ดินเป็น 3 ส่วน กล่าวคือ ส่วนหนึ่งจัดสรรไว้สำหรับปลูกข้าว อีกส่วนหนึ่งจัดสรรสำหรับการปลูกพืชสวน พืชไร่ และอีกส่วนที่เหลือเป็นที่สำหรับบุคคล การดำเนินการได้ผลดีมาก สามารถสร้างกำไรได้ ต่อมาได้ขยายโครงการมาใช้ที่อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ช่วยให้เกษตรกร ในพื้นที่ต้องประสบกับภาวะแห้งแล้ง การเกษตรต้องพึ่งพาน้ำฝน ก็สามารถมีเศรษฐกิจที่พอเพียง ได้จากเดิมซึ่งไม่สามารถผลิตข้าวได้พอกับความต้องการ เกษตรกรหลายรายที่เข้าร่วมโครงการประสบผลสำเร็จในพื้นที่ของตนเป็นอย่างดี จากแนวคิดของระบบเศรษฐกิจพอเพียงดังกล่าวข้างต้น จึงนำไปสู่นโยบายตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการอำนวยการ หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์แห่งชาติ พ.ศ. 2544 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการพัฒนาท้องถิ่น สร้างชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อพึ่งตนเองได้ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างงาน สร้างรายได้ ด้วยการนำทรัพยากรและภูมิปัญญาในท้องถิ่นมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีจุดเด่น และมีมูลค่าเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของท้องถิ่น ปรัชญาหรือแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับประเทศ แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง เป็นทางเลือกใหม่ของประชาชนชาวไทยเพื่อที่จะสามารถดำรงชีวิตแบบพออยู่พอกิน และสามารถพึ่งพาตนเองได้ เศรษฐกิจพอเพียงจึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ อันจะนำไปสู่สังคมที่มีคุณภาพทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม

                                                                                       แหล่งอ้างอิง http://www.chaiwit.ac.th/chaiwit02/p024.html

ผู้จัดทำ น.ส. สุจิตรา วิทยเบญจางค์ ม.5/1 เลขที่ 16 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 545 คน กำลังออนไลน์