• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d5cd612febdb00f622fda36024119c97' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n                 <img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u19943/H_tu.gif\" height=\"137\" style=\"width: 645px; height: 171px\" />                                     \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><u><span style=\"color: #ff0000\">ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก</span></u></strong><br />\n</span>เซลล์กัลวานิก อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ <br />\n   <span style=\"color: #ff0000\">  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">            </span><span style=\"color: #ff0000\"><u><span style=\"color: #ff0000\">1. เซลล์ปฐมภูมิ&lt; Primary Cell&gt;</span><br />\n</u></span>เป็นเซลล์ที่เมื่อใช้แล้วไม่อาจทำให้กลับไปสู่สภาพเดิมได้อีกโดยใช้ศักย์ไฟฟ้าภาพนอก เซลล์ชนิดนี้<br />\nได้แก่ ดาเนียลเซลล์ เซลล์แห้ง และอื่นๆ <br />\n<span style=\"color: #993300\"><u><span style=\"color: #800000\">1.1 เซลล์แห้งหรือถ่านไฟฉาย</span></u><br />\n</span> เซลล์แห้งหรือบางทีเรียกว่าเซลล์เลอคลัง เซลล์ (leclanche cell) เป็นเซลล์ที่ใช้ในไฟฉาย <br />\nซึ่งมีลักษณะตามรูปที่ 1. กล่องของเซลล์ทำด้วยโลหะสังกะสีซึ่งทำหน้าที่เป็นขั้วลบ ส่วนแท่งคาร์บอน<br />\nหรือแกไฟต์ทำหน้าที่เป็นขั้วบวก ภายในกล่องระหว่างสองอิเล็กโตรดบรรจุด้วยของผสมของ<br />\nแอมโมเนียมคลอไรด์, แมงกานีส (IV) ออกไซด์, ซิงค์ (II) คลอไรด์, ผงคาร์บอนกับของแข็งอื่นที่ไม่มี<br />\nส่วนในการทำปฏิกิริยาและทำให้ชุ่มด้วยน้ำ ระหว่างของผสมเหล่านี้กับกล่องสังกะสีกั้นด้วยกระดาษพรุน <br />\nตอนบนของเซลล์ผนึกด้วยวัสดุที่สามารถรักษาความชื้นภายในเซลล์ให้คงที่ เมื่อเซลล์ทำหน้าที่จ่ายไฟฟ้า Zn<br />\n จะละลายเป็น Zn2+เป็นเหตุให้กล่องสังกะสีเป็นขั้วลบ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจึงเป็นปฏิกิริยาออกซิเดชัน  <br />\nZn(s) +2MnO2(s) + 8NH+4(aq)--------&gt;Zn2+(aq) + 2Mn3+(aq) + 8NH3(aq) +4H2O\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993300\"><u><span style=\"color: #800000\">2. เซลล์แอลคาไลน์ (Alkaline Cell)</span><br />\n</u></span>          เซลล์แอลคาไลน์มีส่วนประกอบของเซลล์เหมือนกับเซลล์เลอคลังเช แต่มีสิ่งที่แตกต่างกันคือเซลล์แอลคาไลน์<br />\nใช้เบสซึ่งได้แก่โพแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) เป็นอิเล็กโทรไลต์แทนแอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) และ<br />\nเนื่องจากใช้สารละลายเบสนี่เองเซลล์ชนิดนี้จึงถูกเรียกว่า เซลล์แอลคาไลน์<br />\n          ที่ขั้วแอโนด (Zn-ขั้วลบ)   Zn ถูกออกซิไดซ์<br />\n                               Zn(s) + 2OH-(aq)  --------&gt;ZnO(s) + H2O(l) + 2e- <br />\n         \n</p>\n<p>\n          ที่ขั้วแคโทด (C-ขั้วบวก)   MnO2จะถูกรีดิวซ์ ไปเป็น Mn2O3<br />\n                           2MnO2(s) + H2O(l) + 2e- --------&gt;Mn2O3(s) + 2OH-(aq) <br />\n         \n</p>\n<p>\n        สมการรวม           Zn(s) + 2MnO2(s)  --------&gt;ZnO(s) + Mn2O3(s)          เซลล์นี้จะให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.5 โวลต์\n</p>\n<p>\nแต่ให้กระแสไฟฟ้าได้มากกว่าและนานกว่าเซลล์แห้ง เพราะ OH- <br />\nที่เกิดขึ้นที่ขั้วคาร์บอนสามารถนำกลับไปใช้ที่ขั้วสังกะสีได้\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"><u><span style=\"color: #800000\">3. เซลล์ปรอท (Mercury Cell)</span></u></span><br />\n          มีหลักการเช่นเดียวกับเซลล์แอลคาไลน์ แต่ใช้เมอร์คิวรี (II) ออกไซด์ (HgO) แทนแมงกานีส (IV) ออกไซด์ (MnO2) เป็นเซลล์ที่มีขนาดเล็กใช้กันมากในเครื่องฟังเสียงสำหรับคนหูพิการ หรือใช้ในอุปกรณ์อื่น เช่น นาฬิกาข้อมือ เครื่องคิดเลข เซลล์นี้จะให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.3 โวลต์ ให้กระแสไฟฟ้าต่ำ แต่สามารถให้ค่าศักย์ไฟฟ้าคงที่ตลอดอายุการใช้งาน มีปฏิกิริยาเคมีดังนี้<br />\n        ที่ขั้วแอโนด            Zn(s) + 2OH-(aq)        -------&gt;  ZnO(s) + H2O(l) + 2e- <br />\n        ที่ขั้วแคโทด           HgO(s) + H2O(l) + 2e- -------&gt; Hg(l) + 2OH-(aq) <br />\n             \n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/46376\"><img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u19943/catty.gif\" height=\"298\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720444181, expire = 1720530581, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d5cd612febdb00f622fda36024119c97' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เซลล์ปฐมภูมิ

                                                      

ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
    

            1. เซลล์ปฐมภูมิ< Primary Cell>
เป็นเซลล์ที่เมื่อใช้แล้วไม่อาจทำให้กลับไปสู่สภาพเดิมได้อีกโดยใช้ศักย์ไฟฟ้าภาพนอก เซลล์ชนิดนี้
ได้แก่ ดาเนียลเซลล์ เซลล์แห้ง และอื่นๆ
1.1 เซลล์แห้งหรือถ่านไฟฉาย
 เซลล์แห้งหรือบางทีเรียกว่าเซลล์เลอคลัง เซลล์ (leclanche cell) เป็นเซลล์ที่ใช้ในไฟฉาย
ซึ่งมีลักษณะตามรูปที่ 1. กล่องของเซลล์ทำด้วยโลหะสังกะสีซึ่งทำหน้าที่เป็นขั้วลบ ส่วนแท่งคาร์บอน
หรือแกไฟต์ทำหน้าที่เป็นขั้วบวก ภายในกล่องระหว่างสองอิเล็กโตรดบรรจุด้วยของผสมของ
แอมโมเนียมคลอไรด์, แมงกานีส (IV) ออกไซด์, ซิงค์ (II) คลอไรด์, ผงคาร์บอนกับของแข็งอื่นที่ไม่มี
ส่วนในการทำปฏิกิริยาและทำให้ชุ่มด้วยน้ำ ระหว่างของผสมเหล่านี้กับกล่องสังกะสีกั้นด้วยกระดาษพรุน
ตอนบนของเซลล์ผนึกด้วยวัสดุที่สามารถรักษาความชื้นภายในเซลล์ให้คงที่ เมื่อเซลล์ทำหน้าที่จ่ายไฟฟ้า Zn
 จะละลายเป็น Zn2+เป็นเหตุให้กล่องสังกะสีเป็นขั้วลบ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจึงเป็นปฏิกิริยาออกซิเดชัน  
Zn(s) +2MnO2(s) + 8NH+4(aq)-------->Zn2+(aq) + 2Mn3+(aq) + 8NH3(aq) +4H2O


2. เซลล์แอลคาไลน์ (Alkaline Cell)
          เซลล์แอลคาไลน์มีส่วนประกอบของเซลล์เหมือนกับเซลล์เลอคลังเช แต่มีสิ่งที่แตกต่างกันคือเซลล์แอลคาไลน์
ใช้เบสซึ่งได้แก่โพแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) เป็นอิเล็กโทรไลต์แทนแอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) และ
เนื่องจากใช้สารละลายเบสนี่เองเซลล์ชนิดนี้จึงถูกเรียกว่า เซลล์แอลคาไลน์
          ที่ขั้วแอโนด (Zn-ขั้วลบ)   Zn ถูกออกซิไดซ์
                               Zn(s) + 2OH-(aq)  -------->ZnO(s) + H2O(l) + 2e-
         

          ที่ขั้วแคโทด (C-ขั้วบวก)   MnO2จะถูกรีดิวซ์ ไปเป็น Mn2O3
                           2MnO2(s) + H2O(l) + 2e- -------->Mn2O3(s) + 2OH-(aq)
         

        สมการรวม           Zn(s) + 2MnO2(s)  -------->ZnO(s) + Mn2O3(s)          เซลล์นี้จะให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.5 โวลต์

แต่ให้กระแสไฟฟ้าได้มากกว่าและนานกว่าเซลล์แห้ง เพราะ OH-
ที่เกิดขึ้นที่ขั้วคาร์บอนสามารถนำกลับไปใช้ที่ขั้วสังกะสีได้

3. เซลล์ปรอท (Mercury Cell)
          มีหลักการเช่นเดียวกับเซลล์แอลคาไลน์ แต่ใช้เมอร์คิวรี (II) ออกไซด์ (HgO) แทนแมงกานีส (IV) ออกไซด์ (MnO2) เป็นเซลล์ที่มีขนาดเล็กใช้กันมากในเครื่องฟังเสียงสำหรับคนหูพิการ หรือใช้ในอุปกรณ์อื่น เช่น นาฬิกาข้อมือ เครื่องคิดเลข เซลล์นี้จะให้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.3 โวลต์ ให้กระแสไฟฟ้าต่ำ แต่สามารถให้ค่าศักย์ไฟฟ้าคงที่ตลอดอายุการใช้งาน มีปฏิกิริยาเคมีดังนี้
        ที่ขั้วแอโนด            Zn(s) + 2OH-(aq)        ------->  ZnO(s) + H2O(l) + 2e- 
        ที่ขั้วแคโทด           HgO(s) + H2O(l) + 2e- -------> Hg(l) + 2OH-(aq)
             

 

สร้างโดย: 
พัชรีพร จันทร์ส่องและอาจารย์กุลณี อารีมิตร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 431 คน กำลังออนไลน์