• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('==^^ Biology Man ^^==ชีวะ คือ ชีวิต จง อุทิศ ชีวิต เพื่อ ชีวะ ==^^==by...ครูสมโภชน์==^^', 'node/28933', '', '52.14.17.40', 0, '4d8340a773610c5812b58beec4cf18aa', 147, 1717331908) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:60882e65b724fc81305f94ec2e31f837' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n      <span class=\"style5\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">“เศรษฐกิจพอเพียง” </span></strong></span>เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง </strong><strong></strong>\n</p>\n<p>\n     เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน <span class=\"style6\"><span style=\"color: #0000ff\">ทางสายกลาง </span></span>โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><b><u><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การนำเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง</span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></u></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>    </span><b>ผมได้นำเศษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันคือ</b></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1.รู้จักเลือกซื้อของที่จำเป็นเท่านั้น</span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2.ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้คุ้มค่ามากที่สุด</span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3.ซ่อมแซมสิ่งของที่ชำรุดแล้วนำกลับมาใช้ใหม่</span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4.ของสิ่งไหนที่เราไม่ใช้แล้วแต่ยังสภาพดีอยู่ก็นำไปขายเป็นของมือสอง</span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">5.รู้จักเก็บออมในส่วนที่เหลือไว้ใช้ยามจำเป็น</span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">6.รู้จักรู้คุณค่าของทรัพยากรและสิ่งของที่ใช้ไป</span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">7.ไม่ใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟื่อยและไร้สาระ</span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">8.พอใจในสิ่งที่ตัวเองมี</span></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b> </p>\n<p>\nนายศุภวัฒน์   วิบูลยาคม ม.5/1 เลขที่ 19\n</p>\n<p>\nที่มา <a href=\"http://www.doae.go.th/report/SE/html/01.htm\">http://www.doae.go.th/report/SE/html/01.htm</a>\n</p>\n', created = 1717331918, expire = 1717418318, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:60882e65b724fc81305f94ec2e31f837' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การนำเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง

 

      “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

     เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

 

การนำเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง    ผมได้นำเศษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันคือ1.รู้จักเลือกซื้อของที่จำเป็นเท่านั้น2.ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้คุ้มค่ามากที่สุด3.ซ่อมแซมสิ่งของที่ชำรุดแล้วนำกลับมาใช้ใหม่4.ของสิ่งไหนที่เราไม่ใช้แล้วแต่ยังสภาพดีอยู่ก็นำไปขายเป็นของมือสอง5.รู้จักเก็บออมในส่วนที่เหลือไว้ใช้ยามจำเป็น6.รู้จักรู้คุณค่าของทรัพยากรและสิ่งของที่ใช้ไป7.ไม่ใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟื่อยและไร้สาระ8.พอใจในสิ่งที่ตัวเองมี

นายศุภวัฒน์   วิบูลยาคม ม.5/1 เลขที่ 19

ที่มา http://www.doae.go.th/report/SE/html/01.htm

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 999 คน กำลังออนไลน์