• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7d29238917e54d58f83cfd93bbaa747d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: black; font-size: 18pt\"><o:p><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: black; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"></span><o:p><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00ccff\">ขั้นตอนของการทำงานของเครื่องเทอร์มอไซเคลอร์ โดยใช้เทคนิค PCR คือ</span></span></span></span></o:p></span></span></o:p></span><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: black; font-size: 18pt\"><o:p><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: black; font-size: 18pt\"><o:p><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00ccff\"> </span></span></span></span></o:p></span></span></o:p></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #00ccff\">1.ขั้นตอนแรกนี้เรียกว่า “Denaturation” เพิ่มอุณหภูมิของเครื่องให้สูงขึ้นจนสาย DNA สายคู่ที่เป็นแม่แบบแยกออกจากกันเป็นสายเดี่ยว (ขั้นนี้อุณหภูมิประมาณ 90 ◦)</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #00ccff\">2.ขั้นตอนที่สองเรียกว่า “Annealing” ลดอุณหภูมิลง (เหลือประมาณ 55 ◦) จะทำให้ DNA ไพรเมอร์จับกับ DNA แม่แบบสายเดี่ยวแต่ละสายในตำแหน่งที่เป็นจุดเริ่มต้นในการสังเคราะห์ DNA ด้วยพันธะไฮโดรเจน</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #00ccff\">3.ขั้นตอนที่สามเรียกว่า “Extension” ปรับอุณหภูมิให้เหมาะสมต่อการทำงานของเอนไซม์ DNA พอลิเมอเรส เพื่อให้สร้างสาย DNA สายคู่เพิ่มขึ้น (ช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการทำงานของเอนไซม์ DNA พอลิเมอเรส คือ ประมาณ 72 ◦-75 ◦)</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #00ccff\">4.เริ่มกระบวนการในขั้นที่ 1 ใหม่จะได้ DNA สายคู่ 2 สาย เพิ่มเป็น 4 สายคู่ 8 สายคู่ และ 16 สายคู่  ตามลำดับไปเรื่อยๆ จนมากพอกับความต้องการ </span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"></span></span></span></span><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"></span></span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19942/18_2_2.jpg\" height=\"520\" width=\"600\" />  <span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #33cccc; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #33cccc; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">(การสร้างสาย </span><span style=\"color: #33cccc; font-size: 16pt\">DNA <span lang=\"TH\">โดย พอลิเมอเรส เชน รีแอกชัน </span>(PCR))<o:p></o:p></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">          <span style=\"color: #00ccff\">จะเห็นได้ว่าเทคนิค </span></span><span style=\"color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span style=\"color: #00ccff\">PCR <span lang=\"TH\"><span> </span>นี้จะเพิ่มปริมาณ </span>DNA <span lang=\"TH\">ที่ต้องการที่มีปรืมาณน้อยให้มากได้อย่างรวดเร็ว<span>  </span>แต่อย่างไรก็ตามเทคนิค </span>PCR <span lang=\"TH\">ยังมีข้อจำกัดอยู่ คือ ขั้นตอนการแสดงของยีน เช่น การสร้างโปรตีนและขั้นตอนการตรวจสอบความผิดพลาดของ </span>DNA <span lang=\"TH\">ที่สร้างขึ้น เนื่องจากเอนไซม์ที่ใช้ในปฏิกิริยานี้บางชนิดไม่มีการตรวจสอบลำดับนิวคลีโอไทด์ของ </span>DNA <span lang=\"TH\">เหมือนในระบบของเซลล์สิ่งมีชีวิต</span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\">          </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00b0f0; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00ccff; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">อย่างไรก็ดีเทคนิค </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00ccff; font-size: 18pt\">PCR <span lang=\"TH\">นี้ ได้นำมาใช้กับการเพิ่มปริมาณของ </span>DNA <span lang=\"TH\">ที่มีอยู่ในปริมาณน้อย เช่น ในคราบเลือด คราบอสุจิ เนื้อเยื่อบางชนิด เชื้อ </span>HIV<span>  </span>DNA <span lang=\"TH\">ของเอ็มบริโอในครรภ์มารดาว่าผิดปกติหรือไม่<span>  </span>รวมทั้ง </span>DNA <span lang=\"TH\">จากซากของวอลลี แมมมอธ </span>(Wolly mammoth) <span lang=\"TH\">ด้วยเพื่อดูถึงวิวัฒนาการของสัตว์ชนิดนี้</span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00b0f0; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00ccff; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: 4815_KwangMD_Catthai; color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #ff66cc; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00b0f0; font-size: 18pt\" lang=\"TH\"><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #00ccff; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\"><a href=\"/node/46418\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19942/hp7.gif\" height=\"50\" width=\"63\" /></a>          <a href=\"/node/43018\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19942/hp1.gif\" height=\"60\" width=\"90\" /></a></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1729581669, expire = 1729668069, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7d29238917e54d58f83cfd93bbaa747d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ขั้นตอนของการทำงานของเครื่องเทอร์มอไซเคลอร์ โดยใช้เทคนิค PCR

ขั้นตอนของการทำงานของเครื่องเทอร์มอไซเคลอร์ โดยใช้เทคนิค PCR คือ


1.ขั้นตอนแรกนี้เรียกว่า “Denaturation” เพิ่มอุณหภูมิของเครื่องให้สูงขึ้นจนสาย DNA สายคู่ที่เป็นแม่แบบแยกออกจากกันเป็นสายเดี่ยว (ขั้นนี้อุณหภูมิประมาณ 90 ◦)


2.ขั้นตอนที่สองเรียกว่า “Annealing” ลดอุณหภูมิลง (เหลือประมาณ 55 ◦) จะทำให้ DNA ไพรเมอร์จับกับ DNA แม่แบบสายเดี่ยวแต่ละสายในตำแหน่งที่เป็นจุดเริ่มต้นในการสังเคราะห์ DNA ด้วยพันธะไฮโดรเจน


3.ขั้นตอนที่สามเรียกว่า “Extension” ปรับอุณหภูมิให้เหมาะสมต่อการทำงานของเอนไซม์ DNA พอลิเมอเรส เพื่อให้สร้างสาย DNA สายคู่เพิ่มขึ้น (ช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการทำงานของเอนไซม์ DNA พอลิเมอเรส คือ ประมาณ 72 ◦-75 ◦)


4.เริ่มกระบวนการในขั้นที่ 1 ใหม่จะได้ DNA สายคู่ 2 สาย เพิ่มเป็น 4 สายคู่ 8 สายคู่ และ 16 สายคู่  ตามลำดับไปเรื่อยๆ จนมากพอกับความต้องการ

  (การสร้างสาย DNA โดย พอลิเมอเรส เชน รีแอกชัน (PCR))

          จะเห็นได้ว่าเทคนิค PCR  นี้จะเพิ่มปริมาณ DNA ที่ต้องการที่มีปรืมาณน้อยให้มากได้อย่างรวดเร็ว  แต่อย่างไรก็ตามเทคนิค PCR ยังมีข้อจำกัดอยู่ คือ ขั้นตอนการแสดงของยีน เช่น การสร้างโปรตีนและขั้นตอนการตรวจสอบความผิดพลาดของ DNA ที่สร้างขึ้น เนื่องจากเอนไซม์ที่ใช้ในปฏิกิริยานี้บางชนิดไม่มีการตรวจสอบลำดับนิวคลีโอไทด์ของ DNA เหมือนในระบบของเซลล์สิ่งมีชีวิต

          อย่างไรก็ดีเทคนิค PCR นี้ ได้นำมาใช้กับการเพิ่มปริมาณของ DNA ที่มีอยู่ในปริมาณน้อย เช่น ในคราบเลือด คราบอสุจิ เนื้อเยื่อบางชนิด เชื้อ HIV  DNA ของเอ็มบริโอในครรภ์มารดาว่าผิดปกติหรือไม่  รวมทั้ง DNA จากซากของวอลลี แมมมอธ (Wolly mammoth) ด้วยเพื่อดูถึงวิวัฒนาการของสัตว์ชนิดนี้

 

         

สร้างโดย: 
AiJi

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 450 คน กำลังออนไลน์