• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:552864215e23dc71215949cd5f0a0be5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>&lt; </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u19943/oxi.gif\" height=\"137\" style=\"width: 637px; height: 158px\" /></span></b></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span><strong>                    </strong></span></span><span style=\"color: #000000\"><span> </span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong>                      <span style=\"color: #ff0000\"><u>เลขออกซิเดชัน</u>   </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong>  </strong>คือ ตัวเลขที่แสดงถึงประจุไฟฟ้าจริง หรือ ประจุเสมือนของอะตอม<br />\nเช่น NaCl เมื่อแตกตัวจะได้ Na+ และ Cl– จะมีเลขออกซิเดชันเป็น +1 และ –1 ตามลำดับ\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u><span style=\"color: #ff0000\">หลักเกณฑ์ในการกำหนดเลขออกซิเดชัน</span></u></strong><br />\n<strong>1.</strong><u> </u>     ธาตุอิสระทุกตัว ไม่ว่าในหนึ่งโมเลกุลจะมีกี่อะตอมก็ตาม จะมีเลขออกซิเดชันเท่ากับ 0<br />\nเช่น Ca , H2 , P4 , S8 , Na ทุกตัวมีเลขออกซิเดชันเป็น 0<br />\n<strong>2.</strong>     ธาตุไฮโดรเจนส่วนมากมีเลขออกซิเดชันเป็น +1<br />\n<strong>3.</strong>     ธาตุออกซิเจนส่วนมากมีเลขออกซิเดชันเป็น –2<br />\n<strong>4.</strong>     ธาตุหมู่ IA , IIA และหมู่ IIIA จะมีเลขออกซิเดชัน = +1 , +2 , +3 ตามลำดับ<br />\n<strong>5.</strong>    เลขออกซิเดชันของอิออนใด ๆ ปกติจะมีค่าเท่ากับประจุของอิออนนั้น ๆ<br />\nเช่น Al3+ มีเลขออกซิเดชัน เป็น +3<br />\n<strong>6.</strong>    สารประกอบใด ๆ ผลรวมของเลขออกซิเดชันจะต้องเป็นศูนย์เสมอ<br />\nเช่น H2O มีเลขออกซิเดชัน = [(+1x2) + (–2)] = 0<br />\n<strong>7.</strong>    ธาตุทรานสิชันส่วนใหญ่มีเลขออกซิเดชันได้มากกว่า 1 ค่าเช่น<br />\nFeO ในนี้ Fe มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ +2<br />\nO3 ในนี้ Fe มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ +3    \n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img border=\"0\" width=\"350\" src=\"/files/u19943/line015.gif\" height=\"72\" />             <a href=\"/node/47236\" title=\"กลับสู่เมนู\"><img border=\"0\" align=\"right\" width=\"200\" src=\"/files/u19943/catty.gif\" height=\"298\" /></a>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1719980700, expire = 1720067100, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:552864215e23dc71215949cd5f0a0be5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เลขออกซิเดชัน

<

 

                    

                      เลขออกซิเดชัน   

  คือ ตัวเลขที่แสดงถึงประจุไฟฟ้าจริง หรือ ประจุเสมือนของอะตอม
เช่น NaCl เมื่อแตกตัวจะได้ Na+ และ Cl– จะมีเลขออกซิเดชันเป็น +1 และ –1 ตามลำดับ

 

 

หลักเกณฑ์ในการกำหนดเลขออกซิเดชัน
1.      ธาตุอิสระทุกตัว ไม่ว่าในหนึ่งโมเลกุลจะมีกี่อะตอมก็ตาม จะมีเลขออกซิเดชันเท่ากับ 0
เช่น Ca , H2 , P4 , S8 , Na ทุกตัวมีเลขออกซิเดชันเป็น 0
2.     ธาตุไฮโดรเจนส่วนมากมีเลขออกซิเดชันเป็น +1
3.     ธาตุออกซิเจนส่วนมากมีเลขออกซิเดชันเป็น –2
4.     ธาตุหมู่ IA , IIA และหมู่ IIIA จะมีเลขออกซิเดชัน = +1 , +2 , +3 ตามลำดับ
5.    เลขออกซิเดชันของอิออนใด ๆ ปกติจะมีค่าเท่ากับประจุของอิออนนั้น ๆ
เช่น Al3+ มีเลขออกซิเดชัน เป็น +3
6.    สารประกอบใด ๆ ผลรวมของเลขออกซิเดชันจะต้องเป็นศูนย์เสมอ
เช่น H2O มีเลขออกซิเดชัน = [(+1x2) + (–2)] = 0
7.    ธาตุทรานสิชันส่วนใหญ่มีเลขออกซิเดชันได้มากกว่า 1 ค่าเช่น
FeO ในนี้ Fe มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ +2
O3 ในนี้ Fe มีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ +3    

 

             

สร้างโดย: 
อาจารย์กุลณี อารีมิตรและนางสาวพัชรีพร จันทร์ส่องและโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 300 คน กำลังออนไลน์