• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2a42f6679af9634636f848f47d593fb1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                           <u>สิ่งแวดล้อมดี ชีวีมีสุข</u></span></b><b><span style=\"font-size: 20pt; color: whitesmoke; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span> <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<a name=\"มลภาวะทางอากาศ\" title=\"มลภาวะทางอากาศ\"></a><b><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">                                     มลภาวะทางอากาศ</span></span></b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span class=\"menu1\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภาวะมลพิษทางอากาศ (</span></span><span class=\"menu1\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">Air Pollution)</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">หมายถึง ภาวะที่อากาศมีการเจือปนของสารหรือสิ่งปนเปื้อนในปริมาณที่มากพอ ทำให้อากาศเสื่อมคุณภาพเป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ และพืช มลสาร (</span>Pollutant) <span lang=\"TH\">ที่ปนเปื้อนอยู่ในอากาศมีทั้งในรูปของแข็ง ฝุ่นละออง ไอระเหยหรือก๊าซ รวมทั้งกลิ่น เขม่า ควัน สารกัมมันตรังสี สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ปรอท ตะกั่ว ออกไซด์ของไนโตรเจน และคาร์บอน เป็นต้น</span></span></span>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางอากาศ</span></span></b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span></u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">       1. <span lang=\"TH\">เป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ โดยเฉพาะระบบหายใจ มะเร็งผิวหนัง ระบบประสาท และอาจสะสมในเนื้อเยื่อร่างกาย</span><br />\n<span lang=\"TH\">มลสารแต่ละชนิดจะเป็นผลกระทบต่อสุขภาพต่างกัน</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">สารพิษที่ระบายออกสู่บรรยากาศ บางชนิดคงตัวอยู่ในบรรยากาศได้เป็นเวลานาน และแพร่กระจายออกไปได้ไกล บางชนิดเป็นปฏิกิริยาต่อกันและเกิดเป็นสารใหม่ที่เป็นอันตราย</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">ทำให้เกิดฝนกรด โดยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ซึ่งเกิดจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงที่มีสารกำมะถันเจือปน เมื่อทำปฏิกิริยารวมตัวกับน้ำและกลั่นตัวเป็นฝน จะมีฤทธิ์เป็นกรด ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งก่อสร้าง</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">ทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (</span>Greenhouse Effect) <span lang=\"TH\">เกิดจากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน ออกไซด์ของไนโตรเจน โอโซน และสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน</span> (CFC) <span lang=\"TH\">เมื่อลอยขึ้นไปบนชั้นบรรยากาศ จะปกคลุมมิให้รังสีความร้อนจากผิวโลกระบายขึ้นสู่บรรยากาศระดับสูงขึ้นได้ ทำให้เกิดการสะสมความร้อนของผิวโลก</span></span><o:p></o:p></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การป้องกันและแก้ไขภาวะมลพิษทางอากาศ</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></b></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span style=\"color: #000000\">       1. <span lang=\"TH\">ลดสารภาวะมลพิษทางอากาศจากแหล่งกำเนิด โดยการเปลี่ยนแปลงคุณภาพเชื้อเพลิง ใช้เครื่องยนต์ที่มีมลพิษน้อย ปรับปรุงกระบวนการผลิต และลดมลพิษจากยานพาหนะ</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">เข้มงวดกับมาตรการลดผลกระทบด้านภาวะมลพิษทางอากาศจากภาคอุตสาหกรรม โดยตรวจสอบการปล่อยมลสารต่างๆ จากภาคอุตสาหกรรมให้อยู่ในระดับมาตรฐาน และให้มีการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับภาวะมลพิษทางอากาศจากโรงงาน</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีการเกษตร โดยนำวัสดุเหลือใช้จากภาคเกษตรมาใช้เป็นพลังงานเพื่อลดการเผาวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรในที่โล่ง</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">ปรับปรุงระบบการกำจัดขยะมูลฝอยชุมชนให้มีการบริหารจัดการแบบครบวงจร ถูกหลักวิชาการ เพื่อลดการเผาขยะในที่โล่ง</span><br />\n5. <span lang=\"TH\">ป้องกันการเกิดไฟป่า ตรวจติดตามปฏิบัติการดับไฟป่า และฟื้นฟูสภาพหลังเกิดไฟป่า</span><br />\n6. <span lang=\"TH\">ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนที่มาจากธรรมชาติ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อลด ภาวะมลพิษทางอากาศจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงประเภทถ่านหิน</span><br />\n7. <span lang=\"TH\">ลดการใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ที่มีสารประกอบของสารที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก เช่น สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (</span>CFC ) <span lang=\"TH\">เป็นต้น</span><br />\n8. <span lang=\"TH\">สนับสนุนให้มีการใช้ระบบการขนส่งที่มีมลพิษน้อย และส่งเสริมการใช้ระบบขนส่งมวลชน</span><br />\n9. <span lang=\"TH\">รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจอันตรายที่เกิดจากภาวะมลพิษทางอากาศ และมีส่วนรวมในการป้องกันแก้ไขมิให้เกิดภาวะมลพิษทางอากาศ</span><br />\n10. <span lang=\"TH\">ปรับปรุงกฎหมาย เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติตามและการใช้บังคับกฎหมายด้านการจัดการภาวะมลพิษทางอากาศ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><a name=\"มลพิษทางน้\" title=\"มลพิษทางน้\"></a><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                                      มลพิษทาง</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">น้ำ</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span></p>\n<p><o:p></o:p><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภาวะมลพิษทางน้ำ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> ( Water Pollution ) <span lang=\"TH\">หมายถึง สภาวะที่น้ำมีคุณภาพเปลี่ยนไปจากธรรมชาติเดิม จนมีสภาพที่เลวลง และส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตในน้ำ</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ลักษณะของภาวะมลพิษทางน้ำ</span></span></b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span></u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">       1. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีสารอินทรีย์ปนอยู่มาก จุลินทรีย์ที่มีอยู่ก็จะมีการเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็วโดยมีการใช้ออกซิเจน จึงมีผลทำให้ปริมาณออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเหลือน้อย ในบางครั้งจะเห็นน้ำมีสีดำคล้ำ และส่งกลิ่นเหม็น เนื่องจากการย่อยสลายของแบคทีเรียชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนมีการปล่อยก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ หรือก๊าซไข่เน่าออกมา</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีเชื้อโรคหรือจุลินทรีย์ ได้แก่ เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ โปรโตซัว เชื้อรา ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดโรคต่างๆ เช่น โรคทางเดินอาหาร โรคตับ โรคพยาธิและโรคผิวหนัง เป็นต้น</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีคราบน้ำมันหรือไขมันเจือปนในปริมาณมากจะเป็นอุปสรรคต่อการถ่ายเทออกซิเจนลงสู่แหล่งน้ำ หรือการดำรงชีวิตของสัตว์และพืชน้ำ</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีเกลือละลาย ซึ่งอาจละลายจากดินลงมาหรือน้ำทะเลไหลซึมเข้ามาเจือปนจนน้ำเสื่อมคุณภาพไม่เหมาะในการใช้อุปโภค บริโภคหรือการเกษตรกรรม</span><br />\n5. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีสารพิษเจือปน เช่น สารประกอบของปรอท ตะกั่ว แคดเมียม สารหนู เมื่ออยู่ในระดับอันตรายจะส่งผลต่อสัตว์น้ำและคนได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น บริโภคพืชผัก สัตว์น้ำ</span><br />\n6. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีสารกัมมันตภาพรังสีเจือปน อาจเกิดขึ้นได้จากธรรมชาติจากการสลายตัวของแร่หินหรือเกิดจากโรงงานนิวเคลียร์ปล่อยน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำ</span><br />\n7. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีสารแขวนลอย ได้แก่ น้ำที่มีสิ่งต่างๆ แขวนลอยอยู่จำนวนมาก ทำให้น้ำมีสภาพเปลี่ยนไปจากเดิม เกี่ยวกับความโปร่งแสง สี เป็นต้น</span><br />\n8. <span lang=\"TH\">น้ำที่มีอุณหภูมิสูง ส่วนใหญ่เกิดจากการระบายน้ำหล่อเย็นจากโรงงานอุตสาหกรรมลงสู่แหล่งน้ำ ซึ่งอุณหภูมิที่สูงขึ้นจะมีผลกระทบต่อการดำรงชีวิต และการแพร่พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตในน้ำ</span></span><o:p></o:p></span> <b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">แหล่งกำเนิดภาวะมลพิษทางน้ำ</span></span></b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span></u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">       1. <span lang=\"TH\">ชุมชน แหล่งน้ำเสียประเภทนี้ได้แก่ แหล่งพักอาศัย อาคารชุด โรงพยาบาล ร้านอาหาร โรงฆ่าสัตว์ โดยมีน้ำเสียเกิดจากการชำระร่างกาย การซักเสื้อผ้า การประกอบอาหาร</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">อุตสาหกรรม เกิดจากกระบวนการในการผลิตทางอุตสาหกรรม เช่น น้ำหล่อเย็น น้ำล้าง น้ำทิ้งจากกระบวนการผลิต การทิ้งของเสียจากการผลิตสู่แหล่งน้ำ รวมถึงการทำเหมืองแร่</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">เกษตรกรรม น้ำเสียมาจากการล้างภาชนะที่บรรจุหรืออุปกรณ์ฉีดพ่น และการระบายของเสียจากมูลสัตว์ลงแหล่งน้ำ เช่น ฟาร์มสุกร นากุ้ง บ่อเลี้ยงปลา การฉีดพ่นสารเคมี การชะล้างหน้าดิน เป็นต้น</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">อื่นๆ เช่น ภาวะมลพิษจากน้ำมันที่ใช้กับเครื่องจักรกลของเรือ การเกิดอุบัติเหตุของเรือขนส่งน้ำมัน และการขับถ่ายสิ่งปฏิกูลของผู้โดยสารบนเรือ การก่อสร้าง การล้างถนน น้ำเสียจากแพปลา ท่าเทียบเรือประมง เป็นต้น</span></span><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">การป้องกันและบำบัดภาวะมลพิษทางน้ำ</span></span></b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span></u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">       1. <span lang=\"TH\">ดำเนินการป้องกันและแก้ไขอย่างเป็นระบบทั้งพื้นที่ลุ่มน้ำ จากต้นน้ำถึงปากแม่น้ำโดยมีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาและการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">ควบคุมภาวะมลพิษจากแหล่งกำเนิดประเภทต่างๆ ได้แก่ ชุมชนและอุตสาหกรรม โดยการควบคุมน้ำทิ้งให้เป็นไปตามมาตรฐาน</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">การลดภาวะมลพิษจากแหล่งกำเนิด ได้แก่ การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีหรือการผลิตที่สะอาดและนำของเสียไปใช้ให้เกิดประโยชน์</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">ควบคุมการใช้ที่ดินที่ใกล้แหล่งน้ำ ได้แก่ กำหนดแหล่งน้ำดิบเพื่อควบคุมและฟื้นฟู และจัดเขตที่ดินสำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมที่ก่อมลพิษ</span><br />\n5. <span lang=\"TH\">ใช้มาตรการให้ผู้ก่อมลพิษต้องเป็นผู้จ่ายค่าบำบัด โดยการส่งเสริมให้มีการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียจากชุมชน</span><br />\n6. <span lang=\"TH\">ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมและสนับสนุนในการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสีย</span><br />\n7. <span lang=\"TH\">ปรับปรุงกฎหมายและเข้มงวดกับมาตรการที่ให้ภาคอุตสาหกรรมและกิจกรรมพาณิชยกรรมนำน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสียรวม ก่อนปล่อยน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำ</span><br />\n8. <span lang=\"TH\">ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้แทนชุมชน ประชาคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาในพื้นที่</span><br />\n9. <span lang=\"TH\">รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับความรู้และเกิดจิตสำนึกเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะมลพิษทางน้ำอย่างต่อเนื่อง</span><br />\n10. <span lang=\"TH\">กำหนดให้มีการสร้างระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน โดยต้องสามารถรวบรวมน้ำเสียเข้าสู่ระบบได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ </span>70 <span lang=\"TH\">ของน้ำเสียที่เกิดขึ้น</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">                                        มลพิษจากขยะ</span></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></b></p>\n<p><o:p></o:p><span style=\"color: #000000\"><span class=\"menu1\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ขยะมูลฝอย( </span></span><span class=\"menu1\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">Solid Waste )</span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หมายถึง เศษสิ่งเหลือใช้และสิ่งปฏิกูลต่างๆ ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์และสัตว์ รวมถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด หรือที่อื่นๆ ทั้งจากการผลิต การบริโภค การขับถ่าย การดำรงชีวิต และอื่นๆ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<b><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ประเภทของขยะ</span></span></b><u><br />\n</u><span style=\"color: #000000\">       1. <span lang=\"TH\">ขยะเปียก หมายถึง ขยะที่ย่อยสลายได้ง่าย เช่น เศษอาหาร พืชผัก เปลือกผลไม้ เป็นต้น</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">ขยะแห้ง หมายถึง ขยะที่ย่อยสลายได้ยาก เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ เศษผ้า ไม้ ยาง เป็นต้น</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">ขยะอันตราย ได้แก่ สารเคมี วัตถุมีพิษ ซากถ่านไฟฉาย หลอดไฟ และขยะติดเชื้อจากสถานพยาบาล</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">แหล่งกำเนิดขยะมูลฝอย</span></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">       1. <span lang=\"TH\">ชุมชนพักอาศัย เช่น บ้านเรือน และอาคารชุด</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">ย่านการค้าและบริการ เช่น ตลาด ร้านค้า ธนาคาร ห้างสรรพสินค้า</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">สถานที่ราชการ ศาสนาสถาน โรงเรียน</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">โรงพยาบาล</span><br />\n5. <span lang=\"TH\">โรงงานอุตสาหกรรม</span></span><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ผลกระทบของขยะมูลฝอย</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span style=\"color: #000000\">       1. <span lang=\"TH\">ปัญหากลิ่นเหม็นจากขยะมูลฝอยสร้างความรำคาญให้แก่ชุมชนพักอาศัย</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">แหล่งน้ำเน่าเสียจากการที่ขยะมูลฝอยมีอินทรียสารเน่าเปื่อยปะปนอยู่ เป็นอันตรายต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์น้ำ รวมทั้งผลเสียในด้านการใช้แหล่งน้ำเพื่อการนันทนาการ</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและสัตว์นำโรคต่างๆ เช่น หนู แมลงวัน เป็นต้น</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">การกำจัดมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักวิชาการจะสร้างความเดือดร้อนรำคาญแก่ผู้ที่อาศัยข้างเคียง รวมทั้งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน</span><br />\n5. <span lang=\"TH\">ทำให้ชุมชนขาดความสะอาด สวยงามและเป็นระเบียบ และไม่น่าอยู่</span><br />\n6. <span lang=\"TH\">การสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น ชุมชนจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเก็บขนและกำจัดขยะ มูลฝอย ค่าชดเชยความเสียหายในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ และค่ารักษาพยาบาลหากประชาชนได้รับโรคภัยไข้เจ็บจากพิษของขยะมูลฝอย</span> <o:p></o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><b>แนวทางจัดการขยะมูลฝอย</b></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">        1. <span lang=\"TH\">กำจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิชาการ เช่น การเผาในเตาเผาขยะ การฝังกลบอย่างถูกสุขลักษณะ และการหมักทำปุ๋ย เป็นต้น ซึ่งแต่ละวิธีมีความแตกต่างกันในด้านต้นทุนการดำเนินงาน ความพร้อมขององค์กร ปริมาณและประเภทของขยะ เป็นต้น</span> <br />\n2. <span lang=\"TH\">จัดการขยะ โดยอาศัยหลัก </span>5 R <span lang=\"TH\">คือ</span><br />\n- Reduce <span lang=\"TH\">การลดปริมาณขยะ โดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์สิ้นเปลือง</span><br />\n- Reuse <span lang=\"TH\">การนำมาใช้ซ้ำ เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลัง เป็นต้น</span><br />\n- Repair <span lang=\"TH\">การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆ ให้สามารถใช้งานต่อได้</span> <br />\n- Reject <span lang=\"TH\">การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ</span> <br />\n- Recycle <span lang=\"TH\">การแปรสภาพและหมุนเวียนนำกลับมาใช้ได้ใหม่ โดยนำไปผ่านกระบวนการผลิตใหม่อีกครั้ง</span><br />\n</span>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">     3. <span lang=\"TH\">การแยกขยะ เพื่อลดขยะที่ต้องนำไปกำจัดจริงๆ ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น</span><br />\n- <span lang=\"TH\">ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนำมากลับมาใช้ได้อีก ได้แก่ ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก</span><br />\n- <span lang=\"TH\">ขยะเปียกสามารถนำมาหมักทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ</span> <br />\n- <span lang=\"TH\">ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องฉีดสเปรย์ ต้องมีวิธีกำจัดที่ปลอดภัย</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">ส่งเสริมการผลิตที่สะอาดในภาคการผลิต โดยลดการใช้วัสดุ ลดพลังงาน และลดมลพิษ เพิ่มศักยภาพการใช้ทรัพยากรหมุนเวียน การนำของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีอายุการใช้งานได้นานขึ้น</span><br />\n5. <span lang=\"TH\">ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนรวมลงทุนและดำเนินการจัดการขยะ</span><br />\n6. <span lang=\"TH\">ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการจัดการขยะอย่างถูกหลักวิชาการ</span><br />\n7. <span lang=\"TH\">รณรงค์และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนเข้าใจและยอมรับว่าเป็นภาระหน้าที่ของตนเอง ในการร่วมมือกันจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชน</span></span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><a name=\"มลพิษทางเสียง\" title=\"มลพิษทางเสียง\"></a><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>                                             </span><span lang=\"TH\">มลพิษทางเสียง</span></span></span></b><span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"> <br />\n<span lang=\"TH\">        ภาวะมลพิษทางเสียง ( </span>Noise Pollution )  <span lang=\"TH\">หมายถึง สภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความรำคาญ หรือก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์และสัตว์</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">แหล่งกำเนิดภาวะมลพิษทางเสียง</span></b><br />\n1. <span lang=\"TH\">การจราจร มาจากยานพาหนะประเภทต่างๆ เช่น รถไฟ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถบรรทุก เรือหางยาว และเครื่องบิน เป็นต้น</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">สถานประกอบการต่างๆ ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม การก่อสร้าง อู่ซ่อมรถ เป็นต้น</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">ชุมชนและสถานบริการ ได้แก่ เสียงจากคนหรือเครื่องใช้ภายในบ้าน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ และเสียงในย่านธุรกิจการค้า สถานบันเทิงเริงรมย์ เป็นต้น</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ระดับเสียงจากกิจกรรมต่าง ๆ</span><o:p></o:p></span></span> <b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b> </span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางเสียง</span></span></b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span></u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">       1. <span lang=\"TH\">ผลกระทบต่อการได้ยิน แบ่งเป็น </span>3 <span lang=\"TH\">ลักษณะคือ</span> <br />\n- <span lang=\"TH\">หูหนวกทันที เกิดขึ้นจากการที่อยู่ในบริเวณที่มีเสียงดังเกิน </span>120 <span lang=\"TH\">เดซิเบลเอ</span> <br />\n- <span lang=\"TH\">หูอื้อชั่วคราว เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในที่มีระดับเสียงดังตั้งแต่ </span>80 <span lang=\"TH\">เดซิเบลเอขึ้นไปในเวลาไม่นานนัก</span> <br />\n- <span lang=\"TH\">หูอื้อถาวร เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในบริเวณที่มีระดับความดังมากเป็นเวลานานๆ</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">ด้านสรีระวิทยา เช่น ผลกระทบต่อระบบการหมุนเวียนของเลือด ต่อมไร้ท่อ อวัยวะสืบพันธุ์ ระบบประสาท และความผิดปกติของระบบการหดและบีบลำไส้ใหญ่ เป็นต้น</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">ด้านจิตวิทยา เช่น สร้างความรำคาญ ส่งผลต่อการนอนหลับพักผ่อน ผลต่อการทำงานและการเรียนรู้ รบกวนการสนทนาและการบันเทิง</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">ด้านสังคม กระทบต่อการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ทำให้ขาดความสงบ</span><br />\n5. <span lang=\"TH\">ด้านเศรษฐกิจ มีผลผลิตต่ำเนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานลดลง เสียค่าใช้จ่ายในการควบคุมเสียง</span><br />\n6. <span lang=\"TH\">ด้านสิ่งแวดล้อม เสียงดังมีผลต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ เช่น ทำให้สัตว์ตกใจและอพยพหนี  </span></span><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><b><span style=\"color: #000000\">การป้องกันและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง </span></b></span><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span></u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">       1.  <span lang=\"TH\">กำหนดให้มีมาตรฐานควบคุมระดับความดังของเสียงทุกประเภท</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">ควบคุมระดับเสียงจากแหล่งกำเนิดให้อยู่ในระดับที่ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด โดยการ ใช้กระบวนการผลิตที่ไม่ใช้เสียงดัง บุผนังห้องด้วยวัสดุลดเสียง หรือกำแพงกั้นเสียง</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">ผู้ที่อยู่ในบริเวณที่มีแหล่งกำเนิดเสียงดังควรใช้วัสดุป้องกันการได้ยินเสียงดัง เช่น เครื่องอุดหู เครื่องครอบหู เป็นต้น</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">กำหนดเขตการใช้ที่ดินประเภทที่ก่อให้เกิดเสียงดังรำคาญ ให้อยู่ห่างจากสถานที่ที่ต้องการความสงบเงียบ เช่น ชุมชนพักอาศัย โรงเรียน โรงพยาบาล วัด เป็นต้น เพื่อเพิ่มระยะทางระหว่างแหล่งกำเนิดเสียงกับชุมชน หรือให้มีเขตกันชนเพื่อลดความดังของเสียง</span></span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">       5. <span lang=\"TH\">เข้มงวดกับการใช้มาตรการลดผลกระทบจากกิจกรรมการก่อสร้างต่างๆ</span><br />\n6. <span lang=\"TH\">ยกเว้นหรือลดภาษีในกิจกรรมหรือวัสดุอุปกรณ์สำหรับควบคุมและป้องกันภาวะมลพิษทางเสียง</span><br />\n7. <span lang=\"TH\">ให้การศึกษาและฝึกอบรมด้านภาวะมลพิษทางเสียงแก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง</span><br />\n8. <span lang=\"TH\">สนับสนุนงานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง</span><br />\n9. <span lang=\"TH\">สร้างเครือข่ายตรวจสอบและเฝ้าระวังแหล่งกำเนิดภาวะมลพิษภายในชุมชน</span><br />\n10. <span lang=\"TH\">รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้ถึงอันตรายจากภาวะมลพิษทางเสียง และร่วมมือกันป้องกันมิให้เกิดมลพิษทางเสียง</span></span><o:p></o:p></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><b><span style=\"font-size: 20pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                         แบบทดสอบ</span></b><span style=\"font-size: 20pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 20pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด</span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">1. <span lang=\"TH\">มลภาวะหมายถึง</span> <span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก. ภาวะสภาพของสิ่งมีชีวิต</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข. ภาวะสภาพแวดล้อม</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค.</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">ภาวะทางเสียง</span><o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ง. ภาวะที่เกิดกับมนุษย์</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">2. <span lang=\"TH\">การเผาขยะทำให้เกิดมลพิษประเภทใด</span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก. มลภาวะทางอากาศ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข. มลภาวะต่อดิน</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค. มลภาวะทางเดินหายใจ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ง. มลภาวะต่อคน</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">3. <span lang=\"TH\">ข้อใดเป็นมลพิษทางเสียงที่เป็นอันตรายมากที่สุด</span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก. เสียงเครื่องบิน</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข. เสียงรถไฟ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค. วงดนตรีร็อค</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ง</span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">.</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">โรงงานผลิตอลูมิเนียม</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">4. <span lang=\"TH\">ขยะประเภทใดที่จัดเป็นขยะอันตราย</span> </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก. ผักเน่า</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข. โลหะ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค. หลอดไฟฟ้า</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span></span> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ง. พลาสติก</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">5. <span lang=\"TH\">ข้อใดเป็นวิธีกำจัดขยะที่ไม่สร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม</span> </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก. เผาในที่เผาขยะ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข. ทิ้งในถังขยะ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค. นำขยะเปียกไปหมักทำปุ๋ย</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ง. นำไปขาย</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span></span><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">6. &quot;<span lang=\"TH\">ของเสียอันตราย&quot;  หมายถึงข้อใด</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก. ยาฆ่าแมลง</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข. ขยะเปียก</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค. ขวดพลาสติก</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ง. กระป๋องแป้ง</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">7. <span lang=\"TH\">ข้อใดเป็นขยะรีไซเคิล</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก. ขวดแก้ว</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข. ถุงพลาสติก</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค. ขวดพลาสติก</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ง. กล่องโฟม</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt\"><o:p><span style=\"color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt\"><o:p><span style=\"color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">8. <span lang=\"TH\">อาหารที่ใส่ผงบอแรกค์เมื่อร่างกายรับเข้าไปมากจะเกิดโรคใด</span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก. โรคเบาหวาน</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข. โรคหัวใจ</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค. โรคกระเพาะ</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ง.</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">โรคมะเร็ง</span></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">9. <span lang=\"TH\">การรับประทานอาหารอาหารที่มีสารกันบูดมากๆจะเกิดโรคใด</span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก. โรคปวดข้อ</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข. โรคมะเร็ง</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค. โรคตับ</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ง. โรคกระเพาะ</span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt\"><o:p><span style=\"color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">10. <span lang=\"TH\">มลพิษทางน้ำมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตใดบ้าง</span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก. มนุษย์</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข. สัตว์บก สัตว์น้ำ</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ค. พืช</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ง. ถูกทั้ง ก </span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">, <span lang=\"TH\">ข และ ค.</span></span><span style=\"font-size: 14pt\"></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><o:p></o:p></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เฉลยแบบทดสอบ</span></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span><o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1. <span> </span>ข</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">2.<span>  </span>ก</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">3.<span>  </span>ก</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">4.<span>  </span>ค</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">5.<span>  </span>ค</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">6.<span>  </span>ก</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">7.<span>  </span>ค</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">8.<span>  </span>ง</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">9.<span>  </span>ง</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">      10.<span>  </span>ง<o:p></o:p></span></span> </p>\n', created = 1714107535, expire = 1714193935, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2a42f6679af9634636f848f47d593fb1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สิ่งแวดล้อมดี ชีวีมีสุข

                           สิ่งแวดล้อมดี ชีวีมีสุข


                                     มลภาวะทางอากาศ

ภาวะมลพิษทางอากาศ (Air Pollution) หมายถึง ภาวะที่อากาศมีการเจือปนของสารหรือสิ่งปนเปื้อนในปริมาณที่มากพอ ทำให้อากาศเสื่อมคุณภาพเป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ และพืช มลสาร (Pollutant) ที่ปนเปื้อนอยู่ในอากาศมีทั้งในรูปของแข็ง ฝุ่นละออง ไอระเหยหรือก๊าซ รวมทั้งกลิ่น เขม่า ควัน สารกัมมันตรังสี สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ปรอท ตะกั่ว ออกไซด์ของไนโตรเจน และคาร์บอน เป็นต้น

ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางอากาศ
       1. เป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ โดยเฉพาะระบบหายใจ มะเร็งผิวหนัง ระบบประสาท และอาจสะสมในเนื้อเยื่อร่างกาย
มลสารแต่ละชนิดจะเป็นผลกระทบต่อสุขภาพต่างกัน
2. สารพิษที่ระบายออกสู่บรรยากาศ บางชนิดคงตัวอยู่ในบรรยากาศได้เป็นเวลานาน และแพร่กระจายออกไปได้ไกล บางชนิดเป็นปฏิกิริยาต่อกันและเกิดเป็นสารใหม่ที่เป็นอันตราย
3. ทำให้เกิดฝนกรด โดยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ซึ่งเกิดจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงที่มีสารกำมะถันเจือปน เมื่อทำปฏิกิริยารวมตัวกับน้ำและกลั่นตัวเป็นฝน จะมีฤทธิ์เป็นกรด ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งก่อสร้าง
4. ทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) เกิดจากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน ออกไซด์ของไนโตรเจน โอโซน และสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) เมื่อลอยขึ้นไปบนชั้นบรรยากาศ จะปกคลุมมิให้รังสีความร้อนจากผิวโลกระบายขึ้นสู่บรรยากาศระดับสูงขึ้นได้ ทำให้เกิดการสะสมความร้อนของผิวโลก

สร้างโดย: 
JOOM

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 504 คน กำลังออนไลน์