• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fa8687b765e667ac8f965f875153e07a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff0000\">  <a href=\"/node/46342\"><img border=\"0\" width=\"165\" src=\"/files/u19133/untitled300.gif\" height=\"69\" style=\"width: 113px; height: 42px\" /></a><a href=\"/node/42785\"></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><img border=\"0\" width=\"147\" src=\"/files/u19133/00000003.gif\" height=\"113\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><strong>     ลักษณะโครงสร้างของโปรตีน</strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><u>1.โปรตีนเส้นใย</u></span> (fibrous protein) เกิดจากสายพอลิเพปไทด์พันกันเป็นเส้นยาว มีความแข็งแรงและยืดหยุ่นสูง เหนียว </span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #000000\">ไม่ละลายในน้ำ หรือในสารละลายเกลือที่เจือจาง เช่น คอลลาเจน คีราทินของเส้นผม ขน เขา และเล็บ </span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><strong>ไฟโบรอินของเส้นไหม และอีลาสตินในเอ็น เป็นต้น</strong></span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><strong></strong></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><u>2. โปรตีนก้อนกลม</u></span> (globular protein) ประกอบด้วยโซ่พอลิเพปไทด์ขดม้วนแน่นในลักษณะกลมหรือรี  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">โปรตีนนี้ส่วนใหญ่ละลายในน้ำได้ส่วนใหญ่ทำหน้าที่เกี่ยวกับกระบวนการเมทาบอลิซึมต่างๆ เช่น แอนติบอดี (antibody) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ฮอร์โมนบางชนิด และโปรตีนขนส่ง </span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><strong>   <span style=\"color: #ff0000\"> โปรตีนบางชนิดมีคุณสมบัติทั้งโปรตีนเส้นใยและโปรตีน กลอบูลาร์ เช่น ไมโอซิน (myosin) ซึ่งทำหน้าที่ในการหดตัว</span></strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ของกล้ามเนื้อ และไฟบริโนเจน (fibrinogen) ซึ่งมีโครงสร้างเป็นโปรตีนเส้นใยแต่สามารถละลายได้ในสารละลายเกลือ</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">เหมือนโปรตีนกลอบูลาร์</span></strong> </span>\n</p>\n', created = 1720202460, expire = 1720288860, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fa8687b765e667ac8f965f875153e07a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โปนตีน(ลักษณะโครงสร้างของโปรตีน)

  

     ลักษณะโครงสร้างของโปรตีน

1.โปรตีนเส้นใย (fibrous protein) เกิดจากสายพอลิเพปไทด์พันกันเป็นเส้นยาว มีความแข็งแรงและยืดหยุ่นสูง เหนียว

ไม่ละลายในน้ำ หรือในสารละลายเกลือที่เจือจาง เช่น คอลลาเจน คีราทินของเส้นผม ขน เขา และเล็บ

ไฟโบรอินของเส้นไหม และอีลาสตินในเอ็น เป็นต้น


2. โปรตีนก้อนกลม (globular protein) ประกอบด้วยโซ่พอลิเพปไทด์ขดม้วนแน่นในลักษณะกลมหรือรี 

โปรตีนนี้ส่วนใหญ่ละลายในน้ำได้ส่วนใหญ่ทำหน้าที่เกี่ยวกับกระบวนการเมทาบอลิซึมต่างๆ เช่น แอนติบอดี (antibody)

ฮอร์โมนบางชนิด และโปรตีนขนส่ง

    โปรตีนบางชนิดมีคุณสมบัติทั้งโปรตีนเส้นใยและโปรตีน กลอบูลาร์ เช่น ไมโอซิน (myosin) ซึ่งทำหน้าที่ในการหดตัว

ของกล้ามเนื้อ และไฟบริโนเจน (fibrinogen) ซึ่งมีโครงสร้างเป็นโปรตีนเส้นใยแต่สามารถละลายได้ในสารละลายเกลือ

เหมือนโปรตีนกลอบูลาร์

สร้างโดย: 
คุณครูกุลรณี อารีมิตร และ นางสาวเกษร งามผล โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 593 คน กำลังออนไลน์