• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ คุณครูเดือนฉาย หนูแสนดี ง31101 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 ภาคเรียนที่ 1/2554', 'node/100081', '', '18.220.77.217', 0, '92bf85a4637882656313facf70b4f55a', 142, 1716056324) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9ceec367c743c970a804b734428eb6d6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<b><u><span style=\"color: #3366ff\"> การปรับตัวให้เข้ากับความเป็นจริงของยุคใหม่</span></u></b>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">     ยุคแห่งโลกาภิวัตน์เปรียบได้กับขบวนรถไฟที่มีอัตราแล่นความเร็วสูง  ซึ่งผู้โดยสารจะต้องพยายามขึ้นรถไฟให้ทันเวลา  มิฉะนั้นก็จะพลาดรถไฟเที่ยวนั้นและหมายถึงการพลาดโอกาส  ข้อสังเกตดังกล่าวนี้เกิดในยุคการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนาในห้าทศวรรษที่ผ่านมา  โดยมีการกล่าวเสมอว่า  ประเทศด้อยพัฒนาประเทศใดก็ตามที่ไม่สามารถจะปรับตัวให้ทันกับยุคสมัยในการพัฒนาเศรษฐกิจ  ก็เท่ากับจะพลาดขบวนรถไฟกลายเป็นประเทศตกหลังที่ล้าหลังอย่างน่าเสียดายยิ่ง<br />\nแต่ข้อที่น่าสังเกตก็คือ  การเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบันซึ่งได้แก่ยุคโลกาภิวัตน์และยุคข่าวสารข้อมูลเกิดขึ้นในอัตราที่เร็วกว่าการเปลี่ยนแปลงในหลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นอย่างมาก  ทั้งนี้เนื่องจากว่าการเปลี่ยนแปลงในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้นมุ่งเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมซึ่งเกิดขึ้นเมื่อ 300 ปีที่แล้วในอังกฤษ  และขยายต่อไปยังยุโรปตะวันตกและสหรัฐอเมริกา  และยุคปัจจุบันเป็นยุคข่าวสารข้อมูลหรือที่เรียกว่ายุค Digital ซึ่งทุกอย่างเคลื่อนไหวเร็วมาก  วิทยาการและเทคนิคใหม่ๆ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา  ตัวอย่างเช่น  กล้องถ่ายรูปสมัยใหม่ซึ่งได้แก่กล้องถ่ายรูปยุคดิจิตอลได้ทำให้กล้องโบราณซึ่งใช้ฟิล์มและอัดรูปกลายเป็นของเก่าซึ่งต้องอยู่ในพิพิธภัณฑ์ในที่สุด</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span></p>\n<p>\n<br />\nคงจำกันได้ว่า  วิทยาการการถ่ายรูปได้มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา  จากกล้องถ่ายรูปแบบเก่าซึ่งเป็นภาพขาวดำ  จนมาถึงการถ่ายรูปซึ่งเป็นภาพสี  และการถ่ายรูปฉับพลันได้แก่กล้องโพรารอยด์  ในกณรีของกล้องถ่ายรูปนั้นเริ่มตั้งแต่กล้องบอกซ์จนมาถึงกล้องที่ถ่ายเสร็จและโยนทิ้งได้เลย  และมาในปัจจุบันก็ได้แก่กล้องถ่ายรูปดิจิตอลในรูปแบบธรรมดาหรือแม้แต่ในรูปแบบโทรศัพท์มือถือ  การพัฒนาที่รวดเร็วเช่นนี้ทำให้หลายคนติดตามไม่ทัน \n</p>\n<p>\n<br />\nในแง่ของห้องทำงานของนักธุรกิจนั้น  ในปัจจุบันไม่มีนักธุรกิจรุ่นใหม่คนใดที่จะไม่มีสมองกลอยู่ในห้องทำงาน  ซึ่งถ้าขาดสมองกลเมื่อใดกิจกรรมทั้งหมดของสำนักงานนั้นก็คงจะกลายเป็นง่อยทันที  เครื่องพิมพ์ดีดแบบเก่ามีคุณสมบัติเป็นเพียงของเก่าโบราณมากกว่าการทำงาน\n</p>\n<p>\n<br />\nจริงๆ แล้วเพียงประมาณ 30 ปีที่ผ่านมา  เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้าถือเป็นนวัตกรรมที่สำคัญยิ่งในขณะนั้น  ห้องแล็ปคอมพิวเตอร์จะมีเครื่องจักรใหญ่มหึมาซึ่งทำหน้าที่เพียงแจงนับความถี่เท่านั้น  การคำนวณก็จะใช้คำนวณแบบพื้นๆ  มีตารางแบบธรรมดา  และนักศึกษาที่อยู่ในห้องแล็ปคอมพิวเตอร์ก็จะง่วนอยู่กับเครื่องจักรใหญ่โดยมีแผ่นกระดาษที่พิมพ์ออกมาจากเครื่องพร้อมกับตัวเลขที่ได้จากการคำนวณต่างๆ <br />\nในปัจจุบันเครื่องสมองกลเล็กขนาดเท่ากับสมุดบันทึกที่เรียกว่าโน็ตบุ๊คสามารถทำงานแทนเครื่องจักรใหญ่ๆ  และยิ่งถ้าเป็นสมองกลฉบับกระเป๋าโดยสามารถใส่ในกระเป๋าเสื้อได้ก็เป็นเรื่องที่อัศจรรย์ยิ่ง  เครื่องดังกล่าวสามารถใช้เป็นเครื่องโทรศัพท์พร้อมทั้งส่งแฟกซ์ ส่งอีเมล์ ได้ด้วย  ความอัศจรรย์ในส่วนนี้เป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้\n</p>\n<p>\n<br />\nการเสนอบทความซึ่งเคยกระทำโดยการใช้เครื่องฉายสไลด์หรือโปรเจ็กเตอร์พร้อมทั้งแจกเอกสารเป็นปึกๆ  ได้เปลี่ยนเป็น Power Point เพียงแผ่นดิส 1 แผ่น  ในส่วนนี้นั้นทำให้นักวิชาการจำนวนไม่น้อยตกหลังไม่ทันยุคอย่างน่าเสียดายยิ่ง  ที่น่าตลกก็คือยังมีนักวิชาการจำนวนหนึ่งถามหาดินสอเป็นจำนวนหลายแท่งเพื่อใช้ในการร่างเอกสาร  ซึ่งนักวิชาการยุคใหม่จะพิมพ์เข้าสมองกลทันที  และสิ่งที่จะนำมาที่ทำงานก็มีเพียงแผ่นดิส 1 แผ่น ที่น่าแปลกใจก็คือ  นักวิชาการรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อยไม่มีความรู้แม้กระทั่งจะพิมพ์ดีดจึงไม่สามารถจะใช้เครื่องสมองกลได้  สิ่งที่เห็นชัดที่สุดขณะนี้ก็คือ ลูกคิดแบบจีนซึ่งใช้ในเมืองจีนและญี่ปุ่นอันเป็นเรื่องอัศจรรย์ในอดีตถูกแทนที่ด้วยเครื่องคิดเลขราคาถูกๆ ซึ่งสามารถจะซื้อขายได้ในตลาดโดยทั่วไป \n</p>\n<p>\n<br />\nการใช้สมองกลได้แผ่ไปในวิถีชีวิตหลายแง่หลายมุม  สิ่งที่ปรากฏเห็นชัดก็คือการใช้สมองกลในการขายสินค้าที่เรียกว่า e-commerce การประกอบธุรกิจโดยใช้เครื่องจักรสมองกล อีเมล์  เครื่องแฟกซ์  ที่เรียกว่า e-business  การศึกษาทางไกลโดยเครื่องมือสื่อสารยุคใหม่  ที่เรียกว่า e-education  การดูการแข่งขันกีฬา  การแสดงดนตรีข้ามทวีปผ่านดาวเทียม  ที่เรียกว่า e-entertainment และการบริหารราชการแผ่นดินของระบบราชการสมัยใหม่รวมทั้งการประชุมสมัยใหม่ซึ่งไม่ต้องแบกข้อมูลแต่ส่งข้อมูลมาทางสมองกลซึ่งเรียกว่า e-government แม้กระทั่งแหล่งร้องเพลงคาราโอเกะก็ต้องทำการเลือกเพลงจากสมองกลแล้วสั่งเลือกเพลงที่ต้องการได้ทันที  การปรับเครื่องรับโทรทัศน์ต้องใช้ความรู้พอสมควรเพราะเมื่อกดเมนูจะปรากฏทางเลือกต่างๆ มากมาย  ผู้จะทำการปรับโทรทัศน์นั้นต้องมีความจัดเจนสมควรกับเครื่องจักรดังกล่าว   และบางครั้งก็ต้องอาศัยช่างผู้ชำนาญจึงจะปรับโทรทัศน์ได้  ในสหรัฐฯ และที่อื่นแม้แต่แม่บ้านก็จะใช้สมองกลบันทึกรายการอาหารที่ต้องจับจ่าย  และแม้กระทั่งร้านขายเป็ดย่างแถวลาดพร้าวแห่งหนึ่งก็จะมีที่อยู่พร้อมทั้งรายละเอียดทิศทางที่จะไปสู่ที่อาศัยของลูกค้าในกรณีที่มีการสั่งทางโทรศัพท์\n</p>\n<p>\n<br />\nในบ้านของคนยุคใหม่แทบทุกบ้าน  การมีสมองกลเป็นส่วนประกอบของบ้านเช่นเดียวกับตู้เย็น โทรทัศน์ และโทรศัพท์  ซึ่งต้องมีการส่งอีเมล์  การใช้พิมพ์ดีด  อินเตอร์เน็ต  และการใช้สมองกลในส่วนอื่นๆ  สิ่งอื่นๆ ที่น่าสนใจก็คือมีโฆษณาชิ้นหนึ่งในโทรทัศน์ถ่ายให้เห็นเกษตรกรแก่ๆ คนหนึ่งกำลังกดปุ่มโน็ตบุ๊คเพื่อหาตัวเลขผลการผลิตการเกษตรเพื่อตอบคำถามของนักธุรกิจที่โทรถามรายละเอียดเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตรชนิดต่างๆ \n</p>\n<p>\n<br />\nยิ่งไปกว่านั้น  คนขายปลาสลิดที่นั่งอยู่ข้างร้านสรรพสินค้าโดยมีปลาวางอยู่ข้างหน้ากำลังพูดคุยโทรศัพท์อยู่กับเพื่อน  และมีการกล่าวเชิงตลกว่าแม้ขอทานจัดตั้งซึ่งแบ่งเป็นสายต่างๆ ก็ยังมีการประสานงานกันด้วยโทรศัพท์มือถือ<br />\nที่อัศจรรย์ยิ่งกว่านั้นก็คือ  ในปัจจุบันคนที่เดินอยู่แถวสยามสแควร์ในตอนเที่ยงวันสามารถจะโทรคุยกับเพื่อนที่ไทม์สแควร์ที่นครนิวยอร์คซึ่งเป็นเวลาเที่ยงคืนซึ่งอยู่จุดตรงข้ามสองจุดของซีกโลก  และคนซึ่งอยู่สองจุดของโลกสามารถจะโทรศัพท์คุยกันได้และสามารถมองเห็นหน้ากันได้ในเครื่องสมองกลเสมือนหนึ่งอยู่ในห้องรับแขก  ที่น่าสนใจยิ่งกว่านั้นก็คือ  เมื่อสามีอยู่นครนิวยอร์คกำลังเลือกแหวนเพชรให้กับภรรยาก็สามารถถ่ายภาพแหวนเข้าเครื่องโทรศัพท์ของตน  จากนั้นก็ส่งภาพดังกล่าวเข้าโทรศัพท์ของภรรยาเพื่อให้เห็นสภาพของแหวนประกอบการตัดสินใจว่าชอบหรือไม่ชอบแหวนดังกล่าวหรือไม่อย่างไร \n</p>\n<p>\n<br />\nความอัศจรรย์ทั้งหมดนี้เกิดคำถามขึ้นมาก็คือ  คนส่วนใหญ่ในสังคมโลกสามารถตามทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น  ซึ่งกำลังกลายเป็นกระแสที่แผ่ไปทั่วทุกมุมโลกได้หรือไม่อย่างไร  และที่สำคัญ  ประเทศที่ไม่สามารถจะตามทันกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะประสบผลเสียหายอย่างไรบ้างในอนาคต\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"http://www.edutopia.org/images/graphics/001365_42.jpg\" alt=\"อัลวิน ทอฟเฟอร์\" border=\"0\" width=\"233\" height=\"317\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ : <a href=\"http://www.edutopia.org/images/graphics/001365_42.jpg\">http://www.edutopia.org/images/graphics/001365_42.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nอัลวิน ทอฟเฟอร์ (Alvin Toffer)  ซึ่งเขียนหนังสือเกี่ยวกับยุคที่สามหรือยุคแห่งข่าวสารข้อมูลซึ่งเป็นคลื่นยุคโลกาภิวัตน์  ก่อนหน้านั้นมีคลื่นสองลูกคือ สังคมเกษตร  คลื่นลูกที่สองคือสังคมอุตสาหกรรม  ประเด็นก็คือ  ในหลายสังคมจะมีประชาชนอยู่ในคลื่นทั้งสามลูก  ตัวอย่างเช่น  ในกรณีประเทศไทยนั้น 60% หรือประมาณ 36 ล้านคน  ยังอยู่ในคลื่นลูกที่หนึ่งคือสังคมเกษตรโดยมีระดับการศึกษาเพียง 4-6 ปี  ขณะเดียวกันคนที่อยู่ในคลื่นลูกที่สองคือสังคมอุตสาหกรรมก็มีเพียงจำนวนหนึ่ง  และคนที่อยู่ในคลื่นลูกที่สามมีจำนวนน้อยที่สุด  แต่เมื่อคนที่อยู่ในคลื่นลูกที่หนึ่งพยายามจะใช้เครื่องจักรของคลื่นลูกที่สาม เช่น ใช้กล้องถ่ายรูปดิจิตอลก็จะกลายเป็นภาพที่ตลกเพราะไม่สามารถจะใช้เครื่องจักรดังกล่าว  ความสามารถในการรับวิทยาการใหม่ๆ ของคลื่นลูกที่สามคือสังคมข่าวสารข้อมูล  หรือคลื่นลูกที่สองคือสังคมอุตสาหกรรม  โดยคนที่เป็นคลื่นลูกที่หนึ่งซึ่งได้แก่สังคมเกษตรไม่ใช่เรื่องง่ายนัก  ขณะเดียวกันความสามารถในการรับวิทยาการของคลื่นลูกที่สามอันได้แก่ข่าวสารข้อมูลของคนที่อยู่ในคลื่นลูกที่สองซึ่งได้แก่สังคมอุตสาหกรรม  ก็ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างราบรื่นเสมอไป  ปัญหาทั้งหมดนี้จำเป็นต้องมีการวิเคราะห์เจาะลึกเพื่อจะหาทางปรับความสามารถในการรับรู้ของคนในสังคม <br />\nซึ่งที่เป็นแง่ดีก็คือ  ถึงแม้จะไม่สามารถปรับคนให้เข้ากับคลื่นลูกที่สามได้ทั้งหมดแต่โดยทั่วไปแล้วมนุษย์สามารถเรียนรู้ได้ ขึ้นอยู่กับว่านโยบายของรัฐมุ่งเน้นมิติดังกล่าวมากน้อยเพียงใด  เป็นต้นว่า  มีหลักฐานอันน่าเชื่อว่าประเทศเวียดนามกำลังขวนขวายสมองกลและภาษาอังกฤษอย่างเร่งรีบเพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของยุค  คำถามก็คือ  ในกรณีประเทศไทยนั้นเราได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวมากน้อยเพียงใด  และมีความพยายามมากน้อยเพียงใดที่จะผลักดันให้คนในสังคมปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยใหม่ได้  เพื่อไม่ให้ตกหลังตามไม่ทันกับวิวัฒนาการของโลกและมนุษยชาติ \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<hr size=\"2\" width=\"100%\" />\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></span></span>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #33cccc\"><a href=\"/43294\"><img src=\"/files/u20352/Untitled-4.jpg\" alt=\"กลับสู่หน้าหลัก\" border=\"0\" width=\"129\" height=\"25\" /></a>  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #33cccc\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\">                         </span><a href=\"/43942\"><span style=\"color: #33cccc\"><img src=\"http://i24.photobucket.com/albums/c39/YakOji/7dvrh-1.jpg\" border=\"0\" width=\"20\" height=\"20\" /></span></a><span style=\"color: #33cccc\"> <span style=\"color: #33cccc\">เทคโนโลยีคืออะไร ?</span>                                     </span><a href=\"/45799\"><span style=\"color: #33cccc\"><img src=\"http://i24.photobucket.com/albums/c39/YakOji/7dvrh-1.jpg\" border=\"0\" width=\"20\" height=\"20\" /></span></a><span style=\"color: #33cccc\"> การปรับตัวให้เข้ากับความเป็นจริงของยุคใหม่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\">                         </span><a href=\"/47557\"><span style=\"color: #33cccc\"><img src=\"http://i24.photobucket.com/albums/c39/YakOji/7dvrh-1.jpg\" border=\"0\" width=\"20\" height=\"20\" /></span></a><span style=\"color: #33cccc\"> เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต                        </span><a href=\"/47566\"><span style=\"color: #33cccc\"><img src=\"http://i24.photobucket.com/albums/c39/YakOji/7dvrh-1.jpg\" border=\"0\" width=\"20\" height=\"20\" /></span></a><span style=\"color: #33cccc\"> แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีขององค์การ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\">                         </span><a href=\"/43962\"><span style=\"color: #33cccc\"><img src=\"/files/u20352/7dvrh-1.jpg\" border=\"0\" width=\"20\" height=\"20\" /></span></a><span style=\"color: #33cccc\"> <span style=\"color: #33cccc\">การเปรียบเทียบระหว่างเทคโนโลยีเก่าและใหม่</span>      </span><a href=\"/51370\"><span style=\"color: #33cccc\"><img src=\"/files/u20352/7dvrh-1.jpg\" border=\"0\" width=\"20\" height=\"20\" /></span></a><span style=\"color: #33cccc\"> ผู้จัดทำ</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1716056334, expire = 1716142734, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9ceec367c743c970a804b734428eb6d6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การปรับตัวให้เข้ากับความเป็นจริงของยุคใหม่

 การปรับตัวให้เข้ากับความเป็นจริงของยุคใหม่

 

     ยุคแห่งโลกาภิวัตน์เปรียบได้กับขบวนรถไฟที่มีอัตราแล่นความเร็วสูง  ซึ่งผู้โดยสารจะต้องพยายามขึ้นรถไฟให้ทันเวลา  มิฉะนั้นก็จะพลาดรถไฟเที่ยวนั้นและหมายถึงการพลาดโอกาส  ข้อสังเกตดังกล่าวนี้เกิดในยุคการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนาในห้าทศวรรษที่ผ่านมา  โดยมีการกล่าวเสมอว่า  ประเทศด้อยพัฒนาประเทศใดก็ตามที่ไม่สามารถจะปรับตัวให้ทันกับยุคสมัยในการพัฒนาเศรษฐกิจ  ก็เท่ากับจะพลาดขบวนรถไฟกลายเป็นประเทศตกหลังที่ล้าหลังอย่างน่าเสียดายยิ่ง
แต่ข้อที่น่าสังเกตก็คือ  การเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบันซึ่งได้แก่ยุคโลกาภิวัตน์และยุคข่าวสารข้อมูลเกิดขึ้นในอัตราที่เร็วกว่าการเปลี่ยนแปลงในหลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นอย่างมาก  ทั้งนี้เนื่องจากว่าการเปลี่ยนแปลงในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้นมุ่งเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมซึ่งเกิดขึ้นเมื่อ 300 ปีที่แล้วในอังกฤษ  และขยายต่อไปยังยุโรปตะวันตกและสหรัฐอเมริกา  และยุคปัจจุบันเป็นยุคข่าวสารข้อมูลหรือที่เรียกว่ายุค Digital ซึ่งทุกอย่างเคลื่อนไหวเร็วมาก  วิทยาการและเทคนิคใหม่ๆ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา  ตัวอย่างเช่น  กล้องถ่ายรูปสมัยใหม่ซึ่งได้แก่กล้องถ่ายรูปยุคดิจิตอลได้ทำให้กล้องโบราณซึ่งใช้ฟิล์มและอัดรูปกลายเป็นของเก่าซึ่งต้องอยู่ในพิพิธภัณฑ์ในที่สุด


คงจำกันได้ว่า  วิทยาการการถ่ายรูปได้มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา  จากกล้องถ่ายรูปแบบเก่าซึ่งเป็นภาพขาวดำ  จนมาถึงการถ่ายรูปซึ่งเป็นภาพสี  และการถ่ายรูปฉับพลันได้แก่กล้องโพรารอยด์  ในกณรีของกล้องถ่ายรูปนั้นเริ่มตั้งแต่กล้องบอกซ์จนมาถึงกล้องที่ถ่ายเสร็จและโยนทิ้งได้เลย  และมาในปัจจุบันก็ได้แก่กล้องถ่ายรูปดิจิตอลในรูปแบบธรรมดาหรือแม้แต่ในรูปแบบโทรศัพท์มือถือ  การพัฒนาที่รวดเร็วเช่นนี้ทำให้หลายคนติดตามไม่ทัน 


ในแง่ของห้องทำงานของนักธุรกิจนั้น  ในปัจจุบันไม่มีนักธุรกิจรุ่นใหม่คนใดที่จะไม่มีสมองกลอยู่ในห้องทำงาน  ซึ่งถ้าขาดสมองกลเมื่อใดกิจกรรมทั้งหมดของสำนักงานนั้นก็คงจะกลายเป็นง่อยทันที  เครื่องพิมพ์ดีดแบบเก่ามีคุณสมบัติเป็นเพียงของเก่าโบราณมากกว่าการทำงาน


จริงๆ แล้วเพียงประมาณ 30 ปีที่ผ่านมา  เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้าถือเป็นนวัตกรรมที่สำคัญยิ่งในขณะนั้น  ห้องแล็ปคอมพิวเตอร์จะมีเครื่องจักรใหญ่มหึมาซึ่งทำหน้าที่เพียงแจงนับความถี่เท่านั้น  การคำนวณก็จะใช้คำนวณแบบพื้นๆ  มีตารางแบบธรรมดา  และนักศึกษาที่อยู่ในห้องแล็ปคอมพิวเตอร์ก็จะง่วนอยู่กับเครื่องจักรใหญ่โดยมีแผ่นกระดาษที่พิมพ์ออกมาจากเครื่องพร้อมกับตัวเลขที่ได้จากการคำนวณต่างๆ
ในปัจจุบันเครื่องสมองกลเล็กขนาดเท่ากับสมุดบันทึกที่เรียกว่าโน็ตบุ๊คสามารถทำงานแทนเครื่องจักรใหญ่ๆ  และยิ่งถ้าเป็นสมองกลฉบับกระเป๋าโดยสามารถใส่ในกระเป๋าเสื้อได้ก็เป็นเรื่องที่อัศจรรย์ยิ่ง  เครื่องดังกล่าวสามารถใช้เป็นเครื่องโทรศัพท์พร้อมทั้งส่งแฟกซ์ ส่งอีเมล์ ได้ด้วย  ความอัศจรรย์ในส่วนนี้เป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้


การเสนอบทความซึ่งเคยกระทำโดยการใช้เครื่องฉายสไลด์หรือโปรเจ็กเตอร์พร้อมทั้งแจกเอกสารเป็นปึกๆ  ได้เปลี่ยนเป็น Power Point เพียงแผ่นดิส 1 แผ่น  ในส่วนนี้นั้นทำให้นักวิชาการจำนวนไม่น้อยตกหลังไม่ทันยุคอย่างน่าเสียดายยิ่ง  ที่น่าตลกก็คือยังมีนักวิชาการจำนวนหนึ่งถามหาดินสอเป็นจำนวนหลายแท่งเพื่อใช้ในการร่างเอกสาร  ซึ่งนักวิชาการยุคใหม่จะพิมพ์เข้าสมองกลทันที  และสิ่งที่จะนำมาที่ทำงานก็มีเพียงแผ่นดิส 1 แผ่น ที่น่าแปลกใจก็คือ  นักวิชาการรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อยไม่มีความรู้แม้กระทั่งจะพิมพ์ดีดจึงไม่สามารถจะใช้เครื่องสมองกลได้  สิ่งที่เห็นชัดที่สุดขณะนี้ก็คือ ลูกคิดแบบจีนซึ่งใช้ในเมืองจีนและญี่ปุ่นอันเป็นเรื่องอัศจรรย์ในอดีตถูกแทนที่ด้วยเครื่องคิดเลขราคาถูกๆ ซึ่งสามารถจะซื้อขายได้ในตลาดโดยทั่วไป 


การใช้สมองกลได้แผ่ไปในวิถีชีวิตหลายแง่หลายมุม  สิ่งที่ปรากฏเห็นชัดก็คือการใช้สมองกลในการขายสินค้าที่เรียกว่า e-commerce การประกอบธุรกิจโดยใช้เครื่องจักรสมองกล อีเมล์  เครื่องแฟกซ์  ที่เรียกว่า e-business  การศึกษาทางไกลโดยเครื่องมือสื่อสารยุคใหม่  ที่เรียกว่า e-education  การดูการแข่งขันกีฬา  การแสดงดนตรีข้ามทวีปผ่านดาวเทียม  ที่เรียกว่า e-entertainment และการบริหารราชการแผ่นดินของระบบราชการสมัยใหม่รวมทั้งการประชุมสมัยใหม่ซึ่งไม่ต้องแบกข้อมูลแต่ส่งข้อมูลมาทางสมองกลซึ่งเรียกว่า e-government แม้กระทั่งแหล่งร้องเพลงคาราโอเกะก็ต้องทำการเลือกเพลงจากสมองกลแล้วสั่งเลือกเพลงที่ต้องการได้ทันที  การปรับเครื่องรับโทรทัศน์ต้องใช้ความรู้พอสมควรเพราะเมื่อกดเมนูจะปรากฏทางเลือกต่างๆ มากมาย  ผู้จะทำการปรับโทรทัศน์นั้นต้องมีความจัดเจนสมควรกับเครื่องจักรดังกล่าว   และบางครั้งก็ต้องอาศัยช่างผู้ชำนาญจึงจะปรับโทรทัศน์ได้  ในสหรัฐฯ และที่อื่นแม้แต่แม่บ้านก็จะใช้สมองกลบันทึกรายการอาหารที่ต้องจับจ่าย  และแม้กระทั่งร้านขายเป็ดย่างแถวลาดพร้าวแห่งหนึ่งก็จะมีที่อยู่พร้อมทั้งรายละเอียดทิศทางที่จะไปสู่ที่อาศัยของลูกค้าในกรณีที่มีการสั่งทางโทรศัพท์


ในบ้านของคนยุคใหม่แทบทุกบ้าน  การมีสมองกลเป็นส่วนประกอบของบ้านเช่นเดียวกับตู้เย็น โทรทัศน์ และโทรศัพท์  ซึ่งต้องมีการส่งอีเมล์  การใช้พิมพ์ดีด  อินเตอร์เน็ต  และการใช้สมองกลในส่วนอื่นๆ  สิ่งอื่นๆ ที่น่าสนใจก็คือมีโฆษณาชิ้นหนึ่งในโทรทัศน์ถ่ายให้เห็นเกษตรกรแก่ๆ คนหนึ่งกำลังกดปุ่มโน็ตบุ๊คเพื่อหาตัวเลขผลการผลิตการเกษตรเพื่อตอบคำถามของนักธุรกิจที่โทรถามรายละเอียดเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตรชนิดต่างๆ 


ยิ่งไปกว่านั้น  คนขายปลาสลิดที่นั่งอยู่ข้างร้านสรรพสินค้าโดยมีปลาวางอยู่ข้างหน้ากำลังพูดคุยโทรศัพท์อยู่กับเพื่อน  และมีการกล่าวเชิงตลกว่าแม้ขอทานจัดตั้งซึ่งแบ่งเป็นสายต่างๆ ก็ยังมีการประสานงานกันด้วยโทรศัพท์มือถือ
ที่อัศจรรย์ยิ่งกว่านั้นก็คือ  ในปัจจุบันคนที่เดินอยู่แถวสยามสแควร์ในตอนเที่ยงวันสามารถจะโทรคุยกับเพื่อนที่ไทม์สแควร์ที่นครนิวยอร์คซึ่งเป็นเวลาเที่ยงคืนซึ่งอยู่จุดตรงข้ามสองจุดของซีกโลก  และคนซึ่งอยู่สองจุดของโลกสามารถจะโทรศัพท์คุยกันได้และสามารถมองเห็นหน้ากันได้ในเครื่องสมองกลเสมือนหนึ่งอยู่ในห้องรับแขก  ที่น่าสนใจยิ่งกว่านั้นก็คือ  เมื่อสามีอยู่นครนิวยอร์คกำลังเลือกแหวนเพชรให้กับภรรยาก็สามารถถ่ายภาพแหวนเข้าเครื่องโทรศัพท์ของตน  จากนั้นก็ส่งภาพดังกล่าวเข้าโทรศัพท์ของภรรยาเพื่อให้เห็นสภาพของแหวนประกอบการตัดสินใจว่าชอบหรือไม่ชอบแหวนดังกล่าวหรือไม่อย่างไร 


ความอัศจรรย์ทั้งหมดนี้เกิดคำถามขึ้นมาก็คือ  คนส่วนใหญ่ในสังคมโลกสามารถตามทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น  ซึ่งกำลังกลายเป็นกระแสที่แผ่ไปทั่วทุกมุมโลกได้หรือไม่อย่างไร  และที่สำคัญ  ประเทศที่ไม่สามารถจะตามทันกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะประสบผลเสียหายอย่างไรบ้างในอนาคต

 

อัลวิน ทอฟเฟอร์

ที่มาของภาพ : http://www.edutopia.org/images/graphics/001365_42.jpg

 


อัลวิน ทอฟเฟอร์ (Alvin Toffer)  ซึ่งเขียนหนังสือเกี่ยวกับยุคที่สามหรือยุคแห่งข่าวสารข้อมูลซึ่งเป็นคลื่นยุคโลกาภิวัตน์  ก่อนหน้านั้นมีคลื่นสองลูกคือ สังคมเกษตร  คลื่นลูกที่สองคือสังคมอุตสาหกรรม  ประเด็นก็คือ  ในหลายสังคมจะมีประชาชนอยู่ในคลื่นทั้งสามลูก  ตัวอย่างเช่น  ในกรณีประเทศไทยนั้น 60% หรือประมาณ 36 ล้านคน  ยังอยู่ในคลื่นลูกที่หนึ่งคือสังคมเกษตรโดยมีระดับการศึกษาเพียง 4-6 ปี  ขณะเดียวกันคนที่อยู่ในคลื่นลูกที่สองคือสังคมอุตสาหกรรมก็มีเพียงจำนวนหนึ่ง  และคนที่อยู่ในคลื่นลูกที่สามมีจำนวนน้อยที่สุด  แต่เมื่อคนที่อยู่ในคลื่นลูกที่หนึ่งพยายามจะใช้เครื่องจักรของคลื่นลูกที่สาม เช่น ใช้กล้องถ่ายรูปดิจิตอลก็จะกลายเป็นภาพที่ตลกเพราะไม่สามารถจะใช้เครื่องจักรดังกล่าว  ความสามารถในการรับวิทยาการใหม่ๆ ของคลื่นลูกที่สามคือสังคมข่าวสารข้อมูล  หรือคลื่นลูกที่สองคือสังคมอุตสาหกรรม  โดยคนที่เป็นคลื่นลูกที่หนึ่งซึ่งได้แก่สังคมเกษตรไม่ใช่เรื่องง่ายนัก  ขณะเดียวกันความสามารถในการรับวิทยาการของคลื่นลูกที่สามอันได้แก่ข่าวสารข้อมูลของคนที่อยู่ในคลื่นลูกที่สองซึ่งได้แก่สังคมอุตสาหกรรม  ก็ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างราบรื่นเสมอไป  ปัญหาทั้งหมดนี้จำเป็นต้องมีการวิเคราะห์เจาะลึกเพื่อจะหาทางปรับความสามารถในการรับรู้ของคนในสังคม
ซึ่งที่เป็นแง่ดีก็คือ  ถึงแม้จะไม่สามารถปรับคนให้เข้ากับคลื่นลูกที่สามได้ทั้งหมดแต่โดยทั่วไปแล้วมนุษย์สามารถเรียนรู้ได้ ขึ้นอยู่กับว่านโยบายของรัฐมุ่งเน้นมิติดังกล่าวมากน้อยเพียงใด  เป็นต้นว่า  มีหลักฐานอันน่าเชื่อว่าประเทศเวียดนามกำลังขวนขวายสมองกลและภาษาอังกฤษอย่างเร่งรีบเพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของยุค  คำถามก็คือ  ในกรณีประเทศไทยนั้นเราได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวมากน้อยเพียงใด  และมีความพยายามมากน้อยเพียงใดที่จะผลักดันให้คนในสังคมปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยใหม่ได้  เพื่อไม่ให้ตกหลังตามไม่ทันกับวิวัฒนาการของโลกและมนุษยชาติ 

 

 


 

กลับสู่หน้าหลัก  

                          เทคโนโลยีคืออะไร ?                                      การปรับตัวให้เข้ากับความเป็นจริงของยุคใหม่

                          เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต                         แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีขององค์การ

                          การเปรียบเทียบระหว่างเทคโนโลยีเก่าและใหม่       ผู้จัดทำ

 

สร้างโดย: 
นางสาวชวิศา ปิยานันทรักษ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 247 คน กำลังออนไลน์