ระดับของสำนวน

 

 

 

แบ่งระดับของสำนวน ไว้ดังนี้

 

                                ๑. ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้น  เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความคิด  (ยอมรับหรือไม่ก็ตาม)
         เรียกว่า  "คำคม"  เช่น
         "ในโลกนี้มีคนดีที่สุดอยู่  ๒  คนเท่านั้น  คนหนึ่งได้ตายไปแล้ว  และ
           อีกคนหนึ่งยังไม่มาเกิด"

 

 

๒.  ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้น เพื่อแสดงความเห็น เพื่อแสดงความเห็นใน
     ลักษณะ ติ-ชม  แต่ยังไม่เป็นคำสอน  เรียก
ว่า "คำพังเพย"  เช่น
     วัวหายล้อมคอก,  ปิดทองหลังพระ

 

๓.  ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้น  เพื่อเป็นคำสอนที่สามารถยึดถือเป็นหลัก
     ปฏิบัติได้  เรียกว่า
  "สุภาษิต"  เช่น
         "คนมีปัญญาในเชิงตลบตะแลง  หาได้ความสุขแท้ที่จริงเพราะความ
          ตลบตะแลงไม่  ย่อมจะได้รับผลความตลบตะแลง  ดังนกยูงถูกปู
                                       หนีบคอตายฉะนั้น"
                                                               (พุทธศาสนสุภาษิต)


๔.  ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้น  และมีคำแสดงการเปรียบเทียบ  ดังนี้  
     เหมือน  ราวกับ  อย่างกับ  เป็น  เท่า  ถือว่าเป็นโวหารเปรียบเทียบ 
     เรียกว่า
  "อุปมาอุปไมย"   เช่น  ขาวเหมือนสำลี  ตาโตเท่าไข่ห่าน

สร้างโดย: 
maxim

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 213 คน กำลังออนไลน์