• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c0b425e4707f31e3fba2e7cd858ef2e4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center\">\n<b><span style=\"color: #993300\" class=\"Apple-style-span\"> </span></b><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"text-decoration: underline\" class=\"Apple-style-span\"><b><span style=\"color: #993300\" class=\"Apple-style-span\">สังคมและวํฒนธรรมไทยก่อนสมัยรัตนโกสินทร์</span></b></span></span>\n</p>\n<div>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"></span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"></span><img width=\"600\" src=\"/files/u18659/Soc1.jpg\" height=\"298\" /></span>\n</div>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #99cc00\" class=\"Apple-style-span\">ที่มาของรูปภาพ : http://www.vcharkarn.com/uploads/1/1656.jpg</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-style-span\"></span>          ประเทศไทยเป็นดินแดนเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่เดิมรู้จักกันทั่วไปในนาม &quot;ประเทศสยาม&quot; หรือ &quot;เมืองสยาม&quot; มาเปลี่ยนเป็น &quot;ปรเทศไทย&quot; ในพ.ศ.2482 เมื่อรัฐบาลในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีนโยบายส่งเสริมลัทธิชาตินิยม ซึ่งเน้นเรื่องของเชื้อชาติเป็นสำคัญ<span style=\"font-size: 18px; line-height: 20px; white-space: pre\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"></span></span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          สิ่งที่ทำให้อาณาจักรในดินแดนไทยพัฒนาขึ้นเป็นประเทศไทย ซึ่ใงมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในชาติและมีวัฒนธรรมที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของตนเองนั้น มีที่มจากสภาพแวดล้อมในทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของประชาชนในดินแดนนี้เป็นสำคัญ แต่ทว่าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของดินแดนแถบนี้ตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงศตวรรษที่ 20 เป็นเรื่องราวที่ยากต่อการศึกษาค้นคว้าและตีความให้ได้ข้อยุติที่แน่นอน</span>\n</p>\n<div>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"></span></span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมไทย จะได้เห็นได้อย่างชัดเจนในตอนปลายพุทธศตวรรษที่ 18 เมื่อรัฐสุโขทัยเกิดขึ้นขณะนั้นในดินแดนประเทศไทยยังมีรัฐอื่นๆ เกิดขึ้นอีกหลายรัฐ ได้แก่ รัฐอโยธยา รัฐสุวรรณภูมิ รัฐนครศรีธรรมราช รัฐหริภุญชัย รัฐล้านนา และรัฐล้านช้าง โดยที่มิได้มีรัฐใดเป็นศูนย์กลางการปกครองของดินแดนไทยทั้งหมดอย่างชัดเจน  อย่างไรก็ดีรัฐสุโขทัยในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช นับว่าเป็นรัฐที่มีความเจริญรุ่งเรือง  และมีความสำคัญในฐานะเป็น “ผู้นำ” ของรัฐไทยทั้งหมดในพุทธศตวรรษ</span>\n</div>\n<p><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"></span></span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">อาณาจักรที่เป็นศูนย์กลางการปกครองและศูนย์กลางของโลกคนไทยต่อจากสุโขทัย คือ อาณาจักรอยุธยา ซึ่งสามารถครองความเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรไทยได้อย่างมั่นคงเป็นเวลานานกว่า 400 ปี  ทั้งนี้เพราะปัจจัยสำคัญต่างๆ  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  ปัจจัยในด้านสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์  ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ  ตลอดจนความมั่นคงทางด้านการเมือง การปกครอง สังคม และวัฒนธรรม<br />\n</span></p>\n<p>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"></span></span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\">          ปรากฏว่าความเจริญทางด้านการปกครอง สังคม และวัฒนธรรมของอาณาจักรสุโขทัยและอาณาจักรอยุธยา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเจริญที่ได้รับการวางรากฐานในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งอาณาจักรอยุธยา  ได้สืบทอดเป็นแบบอย่างของอาณาจักรไทยต่อมา  เมื่อศูนย์กลางการปกครองของไทยได้ย้ายมาอยู่ที่กรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตามลำดับ ถึงแม้ว่าในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบสังคม เพื่อความทันสมัยทัดเทียมอารยประเทศตะวันตกบ้างก็ตาม  แต่พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมของคนไทยที่สำคัญ ได้แก่ ภาษา ศาสนา ความเชื่อ ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบต่อกันมาโดยตลอดนับจากสมัยสุโขทัยเป็นต้นมา  ก็ได้มีส่วนสำคัญในการสร้างความเป็นปึกแผ่นภายใต้ศูนย์กลางการปกครองแห่งเดียวกันที่กรุงเทพฯ และภายใต้พระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นองค์พระประมุขผู้เป็นมิ่งขวัญของประเทศชาติองเดียวกัน</span>\n</p>\n<div>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"white-space: normal\" class=\"Apple-style-span\">          </span>ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นรากฐานของสังคมและวัฒนธรรมในสมัยรัตนโกสินทร์ที่เห็นอย่างชัดเจนมีดังนี้</span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">&gt;&gt;ประการแรก</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> ชาวไทยนับถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติด้วยความศรัทธาเลื่อมใสอยู่ตลอดมา</span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"></span><span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">&gt;&gt;ประการที่สอง</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> วาระการปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประกอบด้วยชน 2 ชั้น คือ ชนชั้นผู้ปกครองและชนชั้นผู้ถูกปกครอง โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นยอดสุดของสังคม</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">&gt;&gt;ประการที่สาม</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> ลักษณะการปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัย ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงปกครองราษฎรของพระองค์ดุจบิดาปกครองบุตร และลักษณะการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของสมัยอยุธยา</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #808000\" class=\"Apple-style-span\">&gt;&gt;ประการที่สี่</span><span style=\"color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"> ในด้านเศรษฐกิจ สังคมไทยมีลักษณะเศรษฐกิจที่พึ่งการเพาะปลูกทำนาเป็นสำคัญ  ชนส่วนใหญ่ของไทยจะประกอบอาชีพการเพาะปลูก ทำนา หรือไม่ก็เป็นขุนนาง ทำให้ขาดผู้ประกอบการค้า การค้าจึงตกอยู่ในมือของชาวต่างชาติซึ่งได้เข้ามาติดต่อค้าขายและพำนักอยู่ในเมือไทยที่สำคัญคือ พวกชาวจีน และแขก</span> \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" /><img border=\"0\" width=\"316\" src=\"/files/u18659/00024619_93414_0.gif\" height=\"50\" />\n</div>\n<div align=\"right\">\n<a href=\"/node/43476\"><img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u18659/2.gif\" height=\"144\" style=\"width: 94px; height: 73px\" /></a>\n</div>\n<div align=\"right\">\n</div>\n', created = 1715547822, expire = 1715634222, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c0b425e4707f31e3fba2e7cd858ef2e4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สังคมและวํฒนธรรมไทยก่อนสมัยรัตนโกสินทร์

รูปภาพของ p_pun_p

 สังคมและวํฒนธรรมไทยก่อนสมัยรัตนโกสินทร์

ที่มาของรูปภาพ : http://www.vcharkarn.com/uploads/1/1656.jpg

          ประเทศไทยเป็นดินแดนเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่เดิมรู้จักกันทั่วไปในนาม "ประเทศสยาม" หรือ "เมืองสยาม" มาเปลี่ยนเป็น "ปรเทศไทย" ในพ.ศ.2482 เมื่อรัฐบาลในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีนโยบายส่งเสริมลัทธิชาตินิยม ซึ่งเน้นเรื่องของเชื้อชาติเป็นสำคัญ

          สิ่งที่ทำให้อาณาจักรในดินแดนไทยพัฒนาขึ้นเป็นประเทศไทย ซึ่ใงมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในชาติและมีวัฒนธรรมที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของตนเองนั้น มีที่มจากสภาพแวดล้อมในทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของประชาชนในดินแดนนี้เป็นสำคัญ แต่ทว่าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของดินแดนแถบนี้ตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงศตวรรษที่ 20 เป็นเรื่องราวที่ยากต่อการศึกษาค้นคว้าและตีความให้ได้ข้อยุติที่แน่นอน

          ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมไทย จะได้เห็นได้อย่างชัดเจนในตอนปลายพุทธศตวรรษที่ 18 เมื่อรัฐสุโขทัยเกิดขึ้นขณะนั้นในดินแดนประเทศไทยยังมีรัฐอื่นๆ เกิดขึ้นอีกหลายรัฐ ได้แก่ รัฐอโยธยา รัฐสุวรรณภูมิ รัฐนครศรีธรรมราช รัฐหริภุญชัย รัฐล้านนา และรัฐล้านช้าง โดยที่มิได้มีรัฐใดเป็นศูนย์กลางการปกครองของดินแดนไทยทั้งหมดอย่างชัดเจน  อย่างไรก็ดีรัฐสุโขทัยในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช นับว่าเป็นรัฐที่มีความเจริญรุ่งเรือง  และมีความสำคัญในฐานะเป็น “ผู้นำ” ของรัฐไทยทั้งหมดในพุทธศตวรรษ

อาณาจักรที่เป็นศูนย์กลางการปกครองและศูนย์กลางของโลกคนไทยต่อจากสุโขทัย คือ อาณาจักรอยุธยา ซึ่งสามารถครองความเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรไทยได้อย่างมั่นคงเป็นเวลานานกว่า 400 ปี  ทั้งนี้เพราะปัจจัยสำคัญต่างๆ  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  ปัจจัยในด้านสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์  ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ  ตลอดจนความมั่นคงทางด้านการเมือง การปกครอง สังคม และวัฒนธรรม

          ปรากฏว่าความเจริญทางด้านการปกครอง สังคม และวัฒนธรรมของอาณาจักรสุโขทัยและอาณาจักรอยุธยา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเจริญที่ได้รับการวางรากฐานในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งอาณาจักรอยุธยา  ได้สืบทอดเป็นแบบอย่างของอาณาจักรไทยต่อมา  เมื่อศูนย์กลางการปกครองของไทยได้ย้ายมาอยู่ที่กรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตามลำดับ ถึงแม้ว่าในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบสังคม เพื่อความทันสมัยทัดเทียมอารยประเทศตะวันตกบ้างก็ตาม  แต่พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมของคนไทยที่สำคัญ ได้แก่ ภาษา ศาสนา ความเชื่อ ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบต่อกันมาโดยตลอดนับจากสมัยสุโขทัยเป็นต้นมา  ก็ได้มีส่วนสำคัญในการสร้างความเป็นปึกแผ่นภายใต้ศูนย์กลางการปกครองแห่งเดียวกันที่กรุงเทพฯ และภายใต้พระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นองค์พระประมุขผู้เป็นมิ่งขวัญของประเทศชาติองเดียวกัน

          ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นรากฐานของสังคมและวัฒนธรรมในสมัยรัตนโกสินทร์ที่เห็นอย่างชัดเจนมีดังนี้
>>ประการแรก ชาวไทยนับถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติด้วยความศรัทธาเลื่อมใสอยู่ตลอดมา
>>ประการที่สอง วาระการปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประกอบด้วยชน 2 ชั้น คือ ชนชั้นผู้ปกครองและชนชั้นผู้ถูกปกครอง โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นยอดสุดของสังคม
>>ประการที่สาม ลักษณะการปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัย ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงปกครองราษฎรของพระองค์ดุจบิดาปกครองบุตร และลักษณะการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของสมัยอยุธยา
>>ประการที่สี่ ในด้านเศรษฐกิจ สังคมไทยมีลักษณะเศรษฐกิจที่พึ่งการเพาะปลูกทำนาเป็นสำคัญ  ชนส่วนใหญ่ของไทยจะประกอบอาชีพการเพาะปลูก ทำนา หรือไม่ก็เป็นขุนนาง ทำให้ขาดผู้ประกอบการค้า การค้าจึงตกอยู่ในมือของชาวต่างชาติซึ่งได้เข้ามาติดต่อค้าขายและพำนักอยู่ในเมือไทยที่สำคัญคือ พวกชาวจีน และแขก 
สร้างโดย: 
อาจารย์รัชญา ไชยนา และ น.ส.ชัชวรรณ ธิติทรัพย์เลิศ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 295 คน กำลังออนไลน์