• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4eead11932eb2a646283d66f0da6a4f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<b><span style=\"background-color: #33CCCC\">ต่อมไร้ท่อ</span></b>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\nสิ่งมีชีวิตจะสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติ จำเป็นต้องมีการทำงานที่สอดคล้องกันอย่างเหมาะสม<br />\nของระบบต่างๆ การ ควบคุมดังกล่าวจัดแบ่งได้\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"241\" width=\"200\" src=\"/files/u20255/endocrine02.jpg\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา:http://www.bangkokhealth.com/cimages/endocrine02.jpg \n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n2 ระบบ คือ <strong>ระบบประสาท (nervous system) </strong>และ<strong> ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system)</strong> การทำงาน ประสานงานอย่างใกล้ชิดของระบบทั้งสอง เรียกว่า <strong>ระบบประสานงาน (coordination)</strong> การทำงานของระบบกล้ามเนื้อ การรับรู้ การตอบสนองสิ่งเร้าต่างๆ เป็นหน้าที่ ของระบบประสาท ส่วนการควบคุมลักษณะ ที่เปลี่ยนแปลงของร่างกายแบบ ค่อยเป็น ค่อยไป ของวัยหนุ่มสาวที่ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง การควบคุมปริมาณสารบางอย่างในร่างกายเป็นหน้าที่ของระบบต่อมไร้ท่อ ที่สร้าง สารเคมี ที่เรียกว่า ฮอร์โมน ไปควบคุมการทำงานของอวัยวะเป้าหมาย (target organ)</p>\n<div align=\"center\">\n<b><span style=\"background-color: #FFCC99\">ต่อมในร่างกายคน</span></b>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<strong>ต่อม (gland)</strong> หมายถึง<em><u> กลุ่มเซลล์หรือกลุ่มของเนื้อเยื่อที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างเพื่อผลิตสารเคมีให้กับร่างกาย</u></em> สารที่ผลิตออกมาอาจขับออกมาเพื่อใช้ในการ ดำรงชีวิต เรียกการขับสารดังกล่าวว่า <strong>secretion</strong> และสาร บางอย่างถูกขับออกมาเพื่อเป็นของเสียที่ต้องกำจัดทิ้ง เรียกการขับสารดังกล่าวนี้ว่า <strong>excretion</strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"239\" width=\"319\" src=\"/files/u20255/glands.gif\" />\n</div>\n<p>\nที่มา:http://www.mhhe.com/biosci/ap/histology_mh/glands.gif</p>\n<p>\n<b>1 ประเภทต่อมในร่างกายคน</b><br />\n<u>1) ต่อมมีท่อ (exocrine gland)</u> <br />\nเป็นต่อมที่ผลิตสารออกมาแล้วมีท่อลำเลียงออกมาภายนอกได้ เช่น ต่อมเหงื่อ ต่อมน้ำตา ต่อมน้ำลาย</p>\n<p><u>2) ต่อมไร้ท่อ (endocrine gland)</u> <br />\nเป็นต่อมที่ผลิตสารออกมาแล้วไม่มีท่อลำเลียงออกมาภายนอก ต้องอาศัยการลำเลียงไปกับน้ำเลือด ในสัตว์ที่ไม่มีเลือดก็จะแพร่ผ่านไปตามเนื้อเยื่อ สารที่สร้างขึ้น เรียกว่า <strong>ฮอร์โมน ( hormone )</strong> ซึ่งมีผลต่อเนื้อเยื่อหรืออวัยวะเฉพาะอย่าง เรียกอวัยวะที่ฮอร์โมนไปมีผลเรียกว่า <strong>&quot;อวัยวะเป้าหมาย&quot;</strong><br />\nการสังเกตว่าต่อมใดเป็นไร้ท่อจะสังเกตได้จากลักษณะต่อไปนี้</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u20255/b33.jpg\" width=\"100\" height=\"171\" />\n</div>\n<p align=\"left\">\nที่มา:http://www.lks.ac.th/bioweb/picbio/b33.JPG</p>\n<p>1.ไม่มีท่อลำเลียงสารที่ผลิตได้ออกภายนอกต่อม<br />\n2.มีเส้นเลือดจำนวนมากเพื่อทำหน้าที่ลำเลียงสารที่ต่อมผลิตได้ไปยังอวัยวะที่เกี่ยวข้อง<br />\n3.cell ที่เป็นองค์ประกอบของต่อรูปร่างพิเศษ สังเกตได้ว่าแตกต่างจาก cell อื่นๆ<br />\n4.สารที่ผลิตได้จะมีลักษณะเฉพาะไม่สามารถถูกสร้างได้จากต่อมอื่น<br />\n5.สารที่ผลิตได้มีผลต่อเนื้อเยื่อและอวัยวะของตนเองในลักษณะจำเพาะ</p>\n<p><b>2 การจำแนกต่อมไร้ท่อตามความสำคัญต่อชีวิต<br />\n</b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n1.2.1 ) Essential endocrine gland เป็นต่อมไร้ท่อที่จำเป็นมาก ถ้าขาดแล้วทำให้ตายได้ ได้แก่ต่อมดังต่อไปนี้<br />\n1.1) ต่อมพาราไทรอยด์ ( parathyroid )<br />\n1.2) ต่อมหมวกไตชั้นนอก ( adrenal cortex )<br />\n1.3) ต่อมไอส์เลตของตับอ่อน ( islets of Langerhans )</p>\n<p>1.2.2 ) Non - Essential endocrine gland เป็นต่อมที่ไม่จำเป็นหรือจำเป็นน้อยมากต่อร่างกาย ได้แก่ต่อมดังต่อไปนี้<br />\n2.1) ต่อมใต้สมอง ( pituitary )<br />\n2.2) ต่อมไทรรอยด์ ( thyroid )<br />\n2.3) ต่อมหมวกไตชั้นใน ( adrenal medulla )<br />\n2.4) ต่อมไพเนียล ( pineal )<br />\n2.5) ต่อมไทมัส ( thymus )<br />\n2.6) ต่อมเพศ ( gonads ) </p>\n<p><b>3 ประเภทของสารในฮอร์โมน </b><br />\nในฮอร์โมนมีสารอยู่หลายประเภท แต่ส่วนใหญ่จะเป็นสารประเภทดังต่อไปนี้\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"240\" width=\"320\" src=\"/files/u20255/steroid.gif\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา:http://netanart.com/Images/steroid.gif \n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n(1) สารประเภทโปรตีนและพอลิเพปไทด์ ( polyppeptide )<br />\n(2) สารประเภทสเตรอยด์ ( steroids )<br />\n(3) สารประเภทอนุพันธ์ของกรดอะมิโน <br />\n(4) สารประเภทอนุพันธ์ของกรดไขมัน </p>\n<p><b>4 จุดกำเนิดของต่อมไร้ท่อ</b> <br />\nต่อมไร้ท่อ ( endocrine gland ) เป็นต่อมที่ทำหน้าที่ในการลำเลียงฮอร์โมน และปล่อยสู่กระแสเลือด เส้นเลือดที่นำเลือดออกจากต่อมไร้ท่อ จึงมีความสำคัญมาก เพราะเป็นตัวนำฮอร์โมนจากต่อม ต่อมไร้ท่อมีการเปลี่ยนแปลงมาจาก เนื้อเยื่อทั้ง 3 ชั้น คือ <strong>เอกโทเดิร์ม ( ectoderm ) มีโซเดิร์ม ( mesoderm ) และ เอนโดเดิร์ม ( endoderm )</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"203\" width=\"600\" src=\"/files/u20255/sf20x10.jpg\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา:http://www.bio.miami.edu/~cmallery/150/devel/sf20x10.jpg  \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"96\" width=\"578\" src=\"/files/u20255/575213mamdta65kh.gif\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43035\"></a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u20255/home.jpg\" width=\"150\" height=\"35\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715625755, expire = 1715712155, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4eead11932eb2a646283d66f0da6a4f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ต่อมไร้ท่อ

 
 
ต่อมไร้ท่อ

สิ่งมีชีวิตจะสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติ จำเป็นต้องมีการทำงานที่สอดคล้องกันอย่างเหมาะสม
ของระบบต่างๆ การ ควบคุมดังกล่าวจัดแบ่งได้

 

ที่มา:http://www.bangkokhealth.com/cimages/endocrine02.jpg 


2 ระบบ คือ ระบบประสาท (nervous system) และ ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) การทำงาน ประสานงานอย่างใกล้ชิดของระบบทั้งสอง เรียกว่า ระบบประสานงาน (coordination) การทำงานของระบบกล้ามเนื้อ การรับรู้ การตอบสนองสิ่งเร้าต่างๆ เป็นหน้าที่ ของระบบประสาท ส่วนการควบคุมลักษณะ ที่เปลี่ยนแปลงของร่างกายแบบ ค่อยเป็น ค่อยไป ของวัยหนุ่มสาวที่ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง การควบคุมปริมาณสารบางอย่างในร่างกายเป็นหน้าที่ของระบบต่อมไร้ท่อ ที่สร้าง สารเคมี ที่เรียกว่า ฮอร์โมน ไปควบคุมการทำงานของอวัยวะเป้าหมาย (target organ)

ต่อมในร่างกายคน

ต่อม (gland) หมายถึง กลุ่มเซลล์หรือกลุ่มของเนื้อเยื่อที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างเพื่อผลิตสารเคมีให้กับร่างกาย สารที่ผลิตออกมาอาจขับออกมาเพื่อใช้ในการ ดำรงชีวิต เรียกการขับสารดังกล่าวว่า secretion และสาร บางอย่างถูกขับออกมาเพื่อเป็นของเสียที่ต้องกำจัดทิ้ง เรียกการขับสารดังกล่าวนี้ว่า excretion

 

ที่มา:http://www.mhhe.com/biosci/ap/histology_mh/glands.gif

1 ประเภทต่อมในร่างกายคน
1) ต่อมมีท่อ (exocrine gland)
เป็นต่อมที่ผลิตสารออกมาแล้วมีท่อลำเลียงออกมาภายนอกได้ เช่น ต่อมเหงื่อ ต่อมน้ำตา ต่อมน้ำลาย

2) ต่อมไร้ท่อ (endocrine gland)
เป็นต่อมที่ผลิตสารออกมาแล้วไม่มีท่อลำเลียงออกมาภายนอก ต้องอาศัยการลำเลียงไปกับน้ำเลือด ในสัตว์ที่ไม่มีเลือดก็จะแพร่ผ่านไปตามเนื้อเยื่อ สารที่สร้างขึ้น เรียกว่า ฮอร์โมน ( hormone ) ซึ่งมีผลต่อเนื้อเยื่อหรืออวัยวะเฉพาะอย่าง เรียกอวัยวะที่ฮอร์โมนไปมีผลเรียกว่า "อวัยวะเป้าหมาย"
การสังเกตว่าต่อมใดเป็นไร้ท่อจะสังเกตได้จากลักษณะต่อไปนี้

 

ที่มา:http://www.lks.ac.th/bioweb/picbio/b33.JPG

1.ไม่มีท่อลำเลียงสารที่ผลิตได้ออกภายนอกต่อม
2.มีเส้นเลือดจำนวนมากเพื่อทำหน้าที่ลำเลียงสารที่ต่อมผลิตได้ไปยังอวัยวะที่เกี่ยวข้อง
3.cell ที่เป็นองค์ประกอบของต่อรูปร่างพิเศษ สังเกตได้ว่าแตกต่างจาก cell อื่นๆ
4.สารที่ผลิตได้จะมีลักษณะเฉพาะไม่สามารถถูกสร้างได้จากต่อมอื่น
5.สารที่ผลิตได้มีผลต่อเนื้อเยื่อและอวัยวะของตนเองในลักษณะจำเพาะ

2 การจำแนกต่อมไร้ท่อตามความสำคัญต่อชีวิต

1.2.1 ) Essential endocrine gland เป็นต่อมไร้ท่อที่จำเป็นมาก ถ้าขาดแล้วทำให้ตายได้ ได้แก่ต่อมดังต่อไปนี้
1.1) ต่อมพาราไทรอยด์ ( parathyroid )
1.2) ต่อมหมวกไตชั้นนอก ( adrenal cortex )
1.3) ต่อมไอส์เลตของตับอ่อน ( islets of Langerhans )

1.2.2 ) Non - Essential endocrine gland เป็นต่อมที่ไม่จำเป็นหรือจำเป็นน้อยมากต่อร่างกาย ได้แก่ต่อมดังต่อไปนี้
2.1) ต่อมใต้สมอง ( pituitary )
2.2) ต่อมไทรรอยด์ ( thyroid )
2.3) ต่อมหมวกไตชั้นใน ( adrenal medulla )
2.4) ต่อมไพเนียล ( pineal )
2.5) ต่อมไทมัส ( thymus )
2.6) ต่อมเพศ ( gonads )

3 ประเภทของสารในฮอร์โมน
ในฮอร์โมนมีสารอยู่หลายประเภท แต่ส่วนใหญ่จะเป็นสารประเภทดังต่อไปนี้

ที่มา:http://netanart.com/Images/steroid.gif 


(1) สารประเภทโปรตีนและพอลิเพปไทด์ ( polyppeptide )
(2) สารประเภทสเตรอยด์ ( steroids )
(3) สารประเภทอนุพันธ์ของกรดอะมิโน
(4) สารประเภทอนุพันธ์ของกรดไขมัน

4 จุดกำเนิดของต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ( endocrine gland ) เป็นต่อมที่ทำหน้าที่ในการลำเลียงฮอร์โมน และปล่อยสู่กระแสเลือด เส้นเลือดที่นำเลือดออกจากต่อมไร้ท่อ จึงมีความสำคัญมาก เพราะเป็นตัวนำฮอร์โมนจากต่อม ต่อมไร้ท่อมีการเปลี่ยนแปลงมาจาก เนื้อเยื่อทั้ง 3 ชั้น คือ เอกโทเดิร์ม ( ectoderm ) มีโซเดิร์ม ( mesoderm ) และ เอนโดเดิร์ม ( endoderm )

ที่มา:http://www.bio.miami.edu/~cmallery/150/devel/sf20x10.jpg  

 

 

 

สร้างโดย: 
อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.จุฑารัตน์ จริงธนสาร ผู้จัดทำ : นส.วิศัลยา ชินกาญจนโรจน์์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 481 คน กำลังออนไลน์