• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('อนุรักษ์ไทย', 'node/71328', '', '18.117.118.239', 0, 'b629311f6f942db7e2d1c24bf8e384b2', 157, 1716074728) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6af840c06ac3b2d12345b16310e35f80' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\"><strong><span style=\"text-decoration: underline;\"><span style=\"color: #33cccc;\">กฎประหลาด Murphy\'s Law กับธุรกิจ</span></span></strong></p>\n<div style=\"text-align: center;\"><img src=\"http://my.dek-d.com/cammy/showpic.php?pid=6661701\" alt=\"\" /></div>\n<div style=\"text-align: center;\">&nbsp;</div>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ซึ่งมีประโยคง่ายๆ ว่า \"If anything can go wrong, it will.\" ซึ่งแปลความหมายเป็นไทยก็คือ ไม่ว่าเราจะทำอะไรก็แล้วแต่ ถ้าหากเราปล่อยให้มีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดขึ้นได้ รับรองได้ว่าความผิดพลาดเกิดขึ้นแน่นอน ซึ่งมีหลายคนพยายามค้นหาว่ากฎนี้มีที่มาจากผู้ใด จนพบว่าแหล่งที่น่าเชื่อถือมากที่สุดน่าจะมาจาก กับตัน Edward Murphy JR ซึ่งเป็นวิศวกรอยู่ที่ฐานทัพทหารอากาศ Muroc ในสหรัฐอเมริกา เมื่อปี 1949</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img src=\"http://my.dek-d.com/cammy/showpic.php?pid=6661581\" alt=\"\" /></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ได้ทดลองเกี่ยวกับความอดทนของมนุษย์ที่มีต่อแรงโน้มถ่วงของโลก ซึ่งทำการทดลองโดยมัดคนติดกับยานยนต์ที่เคลื่อนที่เหมือนจรวด และให้หยุดอย่างเร็ว แต่การทดลองมักจะเกิดความผิดพลาด</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จากผู้ช่วยทดลองที่ดูแลสายไฟฟ้าจนทำให้การทดสอบทำงาน จนกัปตันต้องเปล่งประโยคออกมาว่า \"If there\'s any way to do it wrong, he will.\" ซึ่งเชื่อกันว่าประโยคนี้คือจุดเริ่มต้นของ Murphy\'s law ต่อมา Murphy\'s Law แตกลูกหลานออกมาอีกมากมาย เช่น กลายเป็น Murphy\'s Second Law คือ \"Something takes longer than you expect\" หรือกฎข้อที่สาม \"Nothing is simple as it looks.\" และกฎย่อยๆ อีกมากมาย แล้วแต่โอกาส สถานการณ์ และวงการ</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่าได้ปล่อยให้มีโอกาสผิดพลาดเกิดขึ้น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img src=\"http://my.dek-d.com/cammy/showpic.php?pid=6661497\" alt=\"\" /></p>\n<p><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Murphy\'s Law ได้มีการนำมาใช้ในทุกโอกาส ทุกเรื่องและทุกวงการ ตั้งแต่ ด้านความรัก วิทยาศาสตร์ การเมือง การโดยสารประจำวัน การเล่นหวย การเรียน จนไปถึงเรื่องของธุรกิจ โดยกฎลูก ของ Murphy\'s Law ในทางธุรกิจ มีหลายคนบัญญัติไว้ เช่น</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - เรามักจะเสร็จงาน 90% แรกของโครงการตรงตามตารางเวลาการทำงานคือที่ 90% ของเวลา แต่อีก 10% ที่เหลือ เราอาจจะต้องใช้เวลาเท่ากับอีก 90% ของเวลาทั้งหมดเหมือนกัน!</p>\n<p><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - ขนาดความยาวของชื่อบริษัทที่บอกสรรพคุณธุรกิจ จะแปรผกผัน (ตรงกันข้าม) กับขนาดบริษัท!</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - เรามักจะได้รับใบแจ้งหนี้เร็วกว่าเช็คของลูกหนี้เรา เป็นสองเท่าเสมอ</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - เรามักจะตรวจสอบเนื้อหาสัญญาทางธุรกิจในรายละเอียดมากกว่า 99% ของสัญญา แต่อีก 1% ของเนื้อหาที่เราไม่ได้ตรวจสอบอย่างละเอียด มักจะเป็นมูลค่าความเสียหาย 99% ของทั้งหมด</p>\n<p><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - พนักงานของเรามักจะทำงานได้ และมีความรู้ทุกเรื่อง ยกเว้นเรื่องที่เขาควรจะทำ</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - ธุรกิจ และโอกาสที่มาถึงเรา มักจะเป็นธุรกิจหรือโอกาสที่ไม่มีทางทำได้ หรือมีใครต้องการที่จะทำ</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - ยิ่งเราเห็นโอกาสทำกำไรมากเท่าไหร่ แปลว่ายิ่งมีความเสี่ยงในการผิดพลาดมากเท่านั้น</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - ผู้ที่ยิ่งมีความชำนาญมากเท่าไหร่ จะยิ่งทำงานเสร็จช้า และมีต้นทุนสูงมากเท่านั้น</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตัวอย่างข้างต้นของ Murphy\'s Law เป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น ที่มีเนื้อหาใกล้เคียงกัน คืออย่าได้ปล่อยให้มีโอกาสผิดพลาดเกิดขึ้น หรือเราต้องพยายามป้องกันโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดให้มากที่สุด มิฉะนั้นแล้วความผิดพลาดที่เราเปิดโอกาสไว้จะเกิดขึ้นแน่นอน ซึ่ง Murphy\'s Law กลายเป็นสิ่งที่นักธุรกิจควรจะต้องคิดและพิจารณาทุกครั้ง เวลาจะตัดสินใจลงทุน หรือดำเนินโครงการใดๆ เพราะทุกอย่างมีความเสี่ยงที่จะเกิดความผิดพลาดโดยทั้งสิ้น ซึ่งเรามักจะใช้ Murphy\'s Law ในการตักเตือนก่อนที่จะทำอะไรซักอย่าง หรือใช้อธิบายความผิดพลาดที่เกิดขึ้น ซึ่งถือเป็นการบริหารความเสี่ยงอย่างหนึ่งในการทำธุรกิจ หรือแม้แต่การดำเนินชีวิตประจำวันของเรา</p>\n<p><br /> &nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;สร้างโดย&nbsp; กัญญามาศ เฮงษฎีกุล&nbsp; โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย</p>\n<p>ที่มา <span style=\"text-decoration: underline;\"><span style=\"font-size: large;\"><span style=\"color: #0000ff;\"><span style=\"font-family: Angsana New;\"><a href=\"http://www.vcharkarn.com/include/article/showarticle.php?Aid=429&amp;page=1\">http://www.vcharkarn.com/include/article/showarticle.php?Aid=<span>429</span>&amp;page=<span>1</span></a></span></span></span></span></p>\n<p><span style=\"font-size: large;\"><span style=\"color: #0000ff;\"><span style=\"color: #333333; font-family: Tahoma;\"><span><a href=\"http://my.dek-d.com/Writer/story/viewlongc.php?id=219485&amp;chapter=10\">http://my.dek-d.com/Writer/story/viewlongc.php?id=219485&amp;chapter=10</a></span></span></span></span></p>\n<script type=\"text/javascript\">// <![CDATA[\nplaySound();\n// ]]></![cdata[></script>\n', created = 1716074768, expire = 1716161168, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6af840c06ac3b2d12345b16310e35f80' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กฎประหลาด Murphy's Law กับธุรกิจ

กฎประหลาด Murphy's Law กับธุรกิจ

 

                ซึ่งมีประโยคง่ายๆ ว่า "If anything can go wrong, it will." ซึ่งแปลความหมายเป็นไทยก็คือ ไม่ว่าเราจะทำอะไรก็แล้วแต่ ถ้าหากเราปล่อยให้มีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดขึ้นได้ รับรองได้ว่าความผิดพลาดเกิดขึ้นแน่นอน ซึ่งมีหลายคนพยายามค้นหาว่ากฎนี้มีที่มาจากผู้ใด จนพบว่าแหล่งที่น่าเชื่อถือมากที่สุดน่าจะมาจาก กับตัน Edward Murphy JR ซึ่งเป็นวิศวกรอยู่ที่ฐานทัพทหารอากาศ Muroc ในสหรัฐอเมริกา เมื่อปี 1949

               

                ได้ทดลองเกี่ยวกับความอดทนของมนุษย์ที่มีต่อแรงโน้มถ่วงของโลก ซึ่งทำการทดลองโดยมัดคนติดกับยานยนต์ที่เคลื่อนที่เหมือนจรวด และให้หยุดอย่างเร็ว แต่การทดลองมักจะเกิดความผิดพลาด

                จากผู้ช่วยทดลองที่ดูแลสายไฟฟ้าจนทำให้การทดสอบทำงาน จนกัปตันต้องเปล่งประโยคออกมาว่า "If there's any way to do it wrong, he will." ซึ่งเชื่อกันว่าประโยคนี้คือจุดเริ่มต้นของ Murphy's law ต่อมา Murphy's Law แตกลูกหลานออกมาอีกมากมาย เช่น กลายเป็น Murphy's Second Law คือ "Something takes longer than you expect" หรือกฎข้อที่สาม "Nothing is simple as it looks." และกฎย่อยๆ อีกมากมาย แล้วแต่โอกาส สถานการณ์ และวงการ

 

                อย่าได้ปล่อยให้มีโอกาสผิดพลาดเกิดขึ้น

               


                Murphy's Law ได้มีการนำมาใช้ในทุกโอกาส ทุกเรื่องและทุกวงการ ตั้งแต่ ด้านความรัก วิทยาศาสตร์ การเมือง การโดยสารประจำวัน การเล่นหวย การเรียน จนไปถึงเรื่องของธุรกิจ โดยกฎลูก ของ Murphy's Law ในทางธุรกิจ มีหลายคนบัญญัติไว้ เช่น

 

 

                - เรามักจะเสร็จงาน 90% แรกของโครงการตรงตามตารางเวลาการทำงานคือที่ 90% ของเวลา แต่อีก 10% ที่เหลือ เราอาจจะต้องใช้เวลาเท่ากับอีก 90% ของเวลาทั้งหมดเหมือนกัน!


                - ขนาดความยาวของชื่อบริษัทที่บอกสรรพคุณธุรกิจ จะแปรผกผัน (ตรงกันข้าม) กับขนาดบริษัท!

               

                - เรามักจะได้รับใบแจ้งหนี้เร็วกว่าเช็คของลูกหนี้เรา เป็นสองเท่าเสมอ

 

                - เรามักจะตรวจสอบเนื้อหาสัญญาทางธุรกิจในรายละเอียดมากกว่า 99% ของสัญญา แต่อีก 1% ของเนื้อหาที่เราไม่ได้ตรวจสอบอย่างละเอียด มักจะเป็นมูลค่าความเสียหาย 99% ของทั้งหมด


                - พนักงานของเรามักจะทำงานได้ และมีความรู้ทุกเรื่อง ยกเว้นเรื่องที่เขาควรจะทำ

 

                - ธุรกิจ และโอกาสที่มาถึงเรา มักจะเป็นธุรกิจหรือโอกาสที่ไม่มีทางทำได้ หรือมีใครต้องการที่จะทำ

 

                - ยิ่งเราเห็นโอกาสทำกำไรมากเท่าไหร่ แปลว่ายิ่งมีความเสี่ยงในการผิดพลาดมากเท่านั้น

 

                - ผู้ที่ยิ่งมีความชำนาญมากเท่าไหร่ จะยิ่งทำงานเสร็จช้า และมีต้นทุนสูงมากเท่านั้น

 

                ตัวอย่างข้างต้นของ Murphy's Law เป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น ที่มีเนื้อหาใกล้เคียงกัน คืออย่าได้ปล่อยให้มีโอกาสผิดพลาดเกิดขึ้น หรือเราต้องพยายามป้องกันโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดให้มากที่สุด มิฉะนั้นแล้วความผิดพลาดที่เราเปิดโอกาสไว้จะเกิดขึ้นแน่นอน ซึ่ง Murphy's Law กลายเป็นสิ่งที่นักธุรกิจควรจะต้องคิดและพิจารณาทุกครั้ง เวลาจะตัดสินใจลงทุน หรือดำเนินโครงการใดๆ เพราะทุกอย่างมีความเสี่ยงที่จะเกิดความผิดพลาดโดยทั้งสิ้น ซึ่งเรามักจะใช้ Murphy's Law ในการตักเตือนก่อนที่จะทำอะไรซักอย่าง หรือใช้อธิบายความผิดพลาดที่เกิดขึ้น ซึ่งถือเป็นการบริหารความเสี่ยงอย่างหนึ่งในการทำธุรกิจ หรือแม้แต่การดำเนินชีวิตประจำวันของเรา


 

 

 สร้างโดย  กัญญามาศ เฮงษฎีกุล  โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

ที่มา http://www.vcharkarn.com/include/article/showarticle.php?Aid=429&page=1

http://my.dek-d.com/Writer/story/viewlongc.php?id=219485&chapter=10

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 242 คน กำลังออนไลน์