• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:44a81156458de5f68711276c95cddb38' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n <a href=\"/node/48176\"><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u17867/banner.jpg\" height=\"201\" style=\"width: 566px; height: 176px\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\"><strong>มะเร็งปอด</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n            ในประเทศไทยมะเร็งปอดเป็นโรคที่พบมากและเป็นสาเหตุการตาย ในอันดับ ต้นทั้งในเพศชายและหญิงและอุบัติการณ์โรค\n</p>\n<p>\nกำลังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะในเพศหญิง ผู้ป่วยมะเร็งปอด ส่วนใหญ่(80-90%)เกิดจากการสูบบุหรี่จึงสามารถป้องกันได้\n</p>\n<p>\nธรรมชาติทาง ชีววิทยาของมะเร็งปอด ทำให้เราพบผู้ป่วย เมื่อเริ่มมีอาการ ในขณะที่โรคอยู่ในระยะลุกลาม และแพร่กระจาย เป็นผลให้\n</p>\n<p>\nผู้ป่วยประมาณ 90% เสียชีวิตจากโรคมะเร็งภายใน เวลา 1-2 ปี มะเร็งปอดพบมากในคนอายุ 50-75 ปี ผู้ป่วยส่วนใหญ่ (80%) จะ\n</p>\n<p>\nเป็นผู้ที่สูบบุหรี่ และ ประมาณ 5% จะเป็นผู้ที่ต้องสูดดมควันบุหรี่จากผู้อื่ นผู้ที่สูดดมควันบุหรี่จากผู้อื่นจะมี ความเสี่ยง ต่อ การเป็น\n</p>\n<p>\nมะเร็งปอดเพิ่มขึ้น 26% จำนวนมวนของบุหรี่ที่สูบต่อวันและ ชนิดของบุหรี่ที่สูบจะสัมพันธ์กับอัตราเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งปอดผู้ที่สูบ\n</p>\n<p>\nบุหรี่10-13%\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u17867/080610_234959_01.jpg\" height=\"288\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่มา  <a href=\"http://www.sabuybook.com/images/products/080610_234959_01.jpg\"><u><span style=\"color: #800080\">http://www.sabuybook.com/images/products/080610_234959_01.jpg</span></u></a>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nจะเกิด มะเร็งปอดภายในเวลา 30-40 ปี อย่างไรก็ตามถ้าเลิกสูบบุหรี่ก็สามารถลดอัตราการเสี่ยง ต่อการเกิดมะเร็งปอด\n</p>\n<p>\nลงเหลือเท่าผู้ไม่สูบบุหรี่ได้ภายในเวลา 10-15 ปี ผู้ที่สูบบุหรี่ และ เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังจะยิ่งเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งปอด \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n           สารก่อมะเร็งที่อาจเป็นสามเหตุของโรคในผู้ป่วย10-15%ซึ่งไม่สูบบุหรี่ ได้แก่ แอสเบสตอส (ตัวอย่าง เช่น ผู้ที่ทำงานใน\n</p>\n<p>\nโรงงานผลิตผ้าเบรครถยนต์ เป็นต้น) โดยเฉพาะถ้าผู้นั้นสูบบุหรี่ด้วย จะยิ่งเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งสูงถึง 50 เท่า สารก่อมะเร็งอื่นได้แก่\n</p>\n<p>\nแร่เรดอน มลภาวะใน อากาศจากอุตสาหกรรมโลหะหนัก ควันมลภาวะในสิ่งแวดล้อม การฉายรังสีเพื่อรักษา\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n           มะเร็งชนิดอื่นก็อาจเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งปอดได้โดยเฉพาะผู้สูบบุหรี่ร่วมด้วย นอกจากนี้ ปัจจัยทางพันธุกรรมก็อาจมีส่วน\n</p>\n<p>\nเกี่ยวข้องด้วย มะเร็งปอดเป็นโรคที่ตรวจค้นหาในระยะ เริ่มแรกได้ยาก การนำเอาผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง (ผู้ชายสูบบุหรี่อายุเกิน 40 ปี)\n</p>\n<p>\nมาตรวจ เสมหะและเอ็กซเรย์ปอดเพื่อพยายามจะลดอัตราการตายจากโรคมะเร็ง พบว่า สามารถพบ ผู้ป่วยมะเร็งในระยะเริ่มแรกมากขึ้น\n</p>\n<p>\nแต่ไม่สามารถลดอัตราตายลงได้ การล้มเหลวจากการนี้ เชื่อว่า เนื่องจากมะเร็งปอดแม้จะมีขนาดเล็กก็พบการแพร่กระจายได้สูงมะเร็ง\n</p>\n<p>\nปอด มักจะ เริ่มมีอาการเมื่อโรคลุกลามมากแล้ว อาการที่พบได้แก่ อาการไอ หายใจลำบาก ไอเป็นเลือด ปอดอักเสบบ่อย และเจ็บ\n</p>\n<p>\nลึกที่หน้าอก หายใจลำบากจากน้ำท่วมปอด เป็นต้น นอกจากนี้ อาจมีอาการเนื่องจากมะเร็๋งลุกลามหรือแพร่กระจาย เช่น เสียงแหบ\n</p>\n<p>\n อาการทางสมอง ปวดกระดูก เป็นต้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #008000\">การวินิจฉัยโรค</span></strong> ทำได้โดย <br />\n <br />\n1..ถ่ายภาพเอ็กซเรย์ปอด  <br />\n2.ตรวจเสมหะที่ไอออกมา เพื่อหาเซลล์มะเร็ง  <br />\n3.ส่องกล้องตรวจดูภายในหลอดลม  <br />\n4.ใช้เข็มแทงผ่านผนังทรวงอก หรือขลิบชิ้นเนื้อจากหลอดลมเพื่อการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u17867/1194198854.jpg\" height=\"217\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา <a href=\"http://www.bloggang.com/data/rb515/picture/1194198854.jpg\"><u><span style=\"color: #800080\">http://www.bloggang.com/data/rb515/picture/1194198854.jpg</span></u></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #008000\">การรักษา</span></strong> <br />\n <br />\nเมื่อพบว่าเป็นโรคมะเร็งปอดแน่นอนแล้วแพทย์จะเป็นผู้ตัดสินใจว่า จะรักษาด้วยวิธีใด ซึ่งจะเหมาะสมที่สุดโดยพิจารณาถึงอายุภาระ\n</p>\n<p>\nความแข็งแรงของร่างกาย ระยะของโรค ชนิด ของชิ้นเนื้อ และการยอมรับของผู้ป่วย ซึ่งการรักษาจะประกอบด้วย \n</p>\n<p>\n<br />\n1.การผ่าตัด  <br />\n2.การฉายแสง  <br />\n3.เคมีบำบัด  <br />\n4.การรักษาแบบประคับประคอง \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nไปยัง  <a href=\"/node/45562\"><strong><span style=\"color: #800000\"><u><span style=\"color: #800080\">โรคมะเร็ง</span></u></span></strong></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/45554\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><u><span style=\"color: #800080\">โรคไม่ติดต่อ</span></u></span></strong></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43031\"><img border=\"0\" width=\"75\" src=\"/files/u17867/pitlok_home_0.gif\" height=\"66\" /></a>           <a href=\"/node/45258\"><img border=\"0\" width=\"75\" src=\"/files/u17867/Info_Icon.jpg\" height=\"75\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1729597794, expire = 1729684194, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:44a81156458de5f68711276c95cddb38' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มะเร็งปอด

 

 

มะเร็งปอด

 


 

            ในประเทศไทยมะเร็งปอดเป็นโรคที่พบมากและเป็นสาเหตุการตาย ในอันดับ ต้นทั้งในเพศชายและหญิงและอุบัติการณ์โรค

กำลังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะในเพศหญิง ผู้ป่วยมะเร็งปอด ส่วนใหญ่(80-90%)เกิดจากการสูบบุหรี่จึงสามารถป้องกันได้

ธรรมชาติทาง ชีววิทยาของมะเร็งปอด ทำให้เราพบผู้ป่วย เมื่อเริ่มมีอาการ ในขณะที่โรคอยู่ในระยะลุกลาม และแพร่กระจาย เป็นผลให้

ผู้ป่วยประมาณ 90% เสียชีวิตจากโรคมะเร็งภายใน เวลา 1-2 ปี มะเร็งปอดพบมากในคนอายุ 50-75 ปี ผู้ป่วยส่วนใหญ่ (80%) จะ

เป็นผู้ที่สูบบุหรี่ และ ประมาณ 5% จะเป็นผู้ที่ต้องสูดดมควันบุหรี่จากผู้อื่ นผู้ที่สูดดมควันบุหรี่จากผู้อื่นจะมี ความเสี่ยง ต่อ การเป็น

มะเร็งปอดเพิ่มขึ้น 26% จำนวนมวนของบุหรี่ที่สูบต่อวันและ ชนิดของบุหรี่ที่สูบจะสัมพันธ์กับอัตราเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งปอดผู้ที่สูบ

บุหรี่10-13%

 

ที่มา  http://www.sabuybook.com/images/products/080610_234959_01.jpg

 

จะเกิด มะเร็งปอดภายในเวลา 30-40 ปี อย่างไรก็ตามถ้าเลิกสูบบุหรี่ก็สามารถลดอัตราการเสี่ยง ต่อการเกิดมะเร็งปอด

ลงเหลือเท่าผู้ไม่สูบบุหรี่ได้ภายในเวลา 10-15 ปี ผู้ที่สูบบุหรี่ และ เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังจะยิ่งเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งปอด 

 

 

 

           สารก่อมะเร็งที่อาจเป็นสามเหตุของโรคในผู้ป่วย10-15%ซึ่งไม่สูบบุหรี่ ได้แก่ แอสเบสตอส (ตัวอย่าง เช่น ผู้ที่ทำงานใน

โรงงานผลิตผ้าเบรครถยนต์ เป็นต้น) โดยเฉพาะถ้าผู้นั้นสูบบุหรี่ด้วย จะยิ่งเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งสูงถึง 50 เท่า สารก่อมะเร็งอื่นได้แก่

แร่เรดอน มลภาวะใน อากาศจากอุตสาหกรรมโลหะหนัก ควันมลภาวะในสิ่งแวดล้อม การฉายรังสีเพื่อรักษา

 

           มะเร็งชนิดอื่นก็อาจเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งปอดได้โดยเฉพาะผู้สูบบุหรี่ร่วมด้วย นอกจากนี้ ปัจจัยทางพันธุกรรมก็อาจมีส่วน

เกี่ยวข้องด้วย มะเร็งปอดเป็นโรคที่ตรวจค้นหาในระยะ เริ่มแรกได้ยาก การนำเอาผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง (ผู้ชายสูบบุหรี่อายุเกิน 40 ปี)

มาตรวจ เสมหะและเอ็กซเรย์ปอดเพื่อพยายามจะลดอัตราการตายจากโรคมะเร็ง พบว่า สามารถพบ ผู้ป่วยมะเร็งในระยะเริ่มแรกมากขึ้น

แต่ไม่สามารถลดอัตราตายลงได้ การล้มเหลวจากการนี้ เชื่อว่า เนื่องจากมะเร็งปอดแม้จะมีขนาดเล็กก็พบการแพร่กระจายได้สูงมะเร็ง

ปอด มักจะ เริ่มมีอาการเมื่อโรคลุกลามมากแล้ว อาการที่พบได้แก่ อาการไอ หายใจลำบาก ไอเป็นเลือด ปอดอักเสบบ่อย และเจ็บ

ลึกที่หน้าอก หายใจลำบากจากน้ำท่วมปอด เป็นต้น นอกจากนี้ อาจมีอาการเนื่องจากมะเร็๋งลุกลามหรือแพร่กระจาย เช่น เสียงแหบ

 อาการทางสมอง ปวดกระดูก เป็นต้น

 

การวินิจฉัยโรค ทำได้โดย
 
1..ถ่ายภาพเอ็กซเรย์ปอด 
2.ตรวจเสมหะที่ไอออกมา เพื่อหาเซลล์มะเร็ง 
3.ส่องกล้องตรวจดูภายในหลอดลม 
4.ใช้เข็มแทงผ่านผนังทรวงอก หรือขลิบชิ้นเนื้อจากหลอดลมเพื่อการวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา 

 

ที่มา http://www.bloggang.com/data/rb515/picture/1194198854.jpg

 

การรักษา
 
เมื่อพบว่าเป็นโรคมะเร็งปอดแน่นอนแล้วแพทย์จะเป็นผู้ตัดสินใจว่า จะรักษาด้วยวิธีใด ซึ่งจะเหมาะสมที่สุดโดยพิจารณาถึงอายุภาระ

ความแข็งแรงของร่างกาย ระยะของโรค ชนิด ของชิ้นเนื้อ และการยอมรับของผู้ป่วย ซึ่งการรักษาจะประกอบด้วย 


1.การผ่าตัด 
2.การฉายแสง 
3.เคมีบำบัด 
4.การรักษาแบบประคับประคอง 

 


 

ไปยัง  โรคมะเร็ง

 

โรคไม่ติดต่อ

 

          

 

สร้างโดย: 
You

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 469 คน กำลังออนไลน์