• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e33f36e47610a9541aefca3607eb2713' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n <a href=\"/node/48176\"><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u17867/banner.jpg\" height=\"201\" style=\"width: 558px; height: 183px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\"><strong>มะเร็งตับ</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #800000\"></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u17867/liver.jpg\" height=\"281\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา <a href=\"http://www.sk-hospital.com/~patho/img/liver.jpg\"><u><span style=\"color: #800080\">http://www.sk-hospital.com/~patho/img/liver.jpg</span></u></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">           มะเร็งตับ เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 ในเพศชายและอันดับ 2 ในเพศหญิง และเป็นมะเร็งที่มีการดำเนินโรคเร็วมาก มักจะ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">เสียชีวิตใน 3 -6 เดือน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #008000\">สาเหตุ</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">1. การเกิดของโรค แยกตามประเภทได้ 2 ชนิด คือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">     1.1 ชนิดที่เกิดกับตับโดยตรง (มะเร็งปฐมภูมิ) ในประเทศไทยพบมากมี 2 ชนิดคือ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">               1.1.1 มะเร็งชนิดเซลล์ตับ เป็นมะเร็งที่พบได้ทั่วทุกภาค <br />\n               1.1.2 มะเร็งชนิดเซลล์ท่อน้ำดี เป็นมะเร็งที่พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ <br />\n </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">     1.2 ชนิดที่ลุกลามมาจากมะเร็งของอวัยวะอื่น (มะเร็งทุติยภูมิ) เช่น มะเร็งลำไส้ใหญ่ และ ทวารหนักที่กระจายไปยังตับ <br />\n </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">2.ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรค เช่น โรคไวรัสตับอักเสบชนิดบี พยาธิใบไม้ในตับ สารเคมีต่างๆ ยารักษาโรคบางชนิด ยาฆ่า</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">แมลง สารพิษที่เกิดจากเชื้อรา สารเคมีที่เกิด จากอาหารหมักดอง สุรา ฯลฯ ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะทางระบบอิมมูน คุณสมบัติ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ทางพันธุกรรม และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม เป็นสาเหตุช่วยในการเกิดโรค </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u17867/F7DC2_Horrors-Cancer-lg.jpg\" height=\"317\" /></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\">ที่มา <a href=\"http://home.biotec.or.th/NewsCenter/my_documents/my_pictures/F7DC2_Horrors-Cancer-lg.jpg\"><u><span style=\"color: #800080\">http://home.biotec.or.th/NewsCenter/my_documents/my_pictures/F7DC2_Horrors-Cancer-lg.jpg</span></u></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #008000\">อาการ <br />\n</span></strong> <br />\n1. เบื่ออาหาร แน่นท้อง ท้องผูก  <br />\n2. อ่อนเพลีย น้ำหนักลด และมีไข้ต่ำๆ  <br />\n3. ปวดหรือเสียดชายโครงด้านขวา อาจคลำก้อนได้  <br />\n4. ตัวเหลือง ตาเหลือง ท้องโตและบวมบริเวณขาทั้ง 2 ข้าง  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #008000\">การตรวจวินิจฉัย</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">การตรวจและรักษามะเร็งตับในระยะแรกเริ่มมักได้ผลดี แต่มะเร็งตับระยะแรกเริ่มมักไม่มีอาการ ผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงควรปรึกษาแพทย์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">1. การตรวจโดยเจาะเลือดหาระดับของสารแอลฟาฟีโตโปรตีน ซึ่งเป็นสารที่มะเร็งตับ ชนิดเซลล์ตับผลิตออกมา <br />\n2. การตรวจดูก้อนในตับโดยใช้อุลตราซาวด์ คอมพิวเตอร์เอ็กซเรย์ คลื่นแม่เหล็ก MRI หรือฉีดสีเข้าเส้นเลือดแดงที่ไปเลี้ยงตับ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #008000\">การรักษา</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><br />\n1. การผ่าตัด เป็นวิธีที่ดีที่สุดที่หวังผลในการหายขาดได้ แต่ใช้ได้ ในผู้ป่วยที่ก้อนยังไม่โตมาก และการทำงานของตับยังดีอยู่ <br />\n2. การฉีดยาเคมีและสารอุดตันเข้าเส้นเลือดแดงที่ไปหล่อเลี้ยง ก้อนมะเร็งทำให้ก้อนยุบลง (Chemoembolization) <br />\n3. การฉีดยา เช่น แอลกอฮอล์ เข้าก้อนมะเร็ง โดยผ่านทาง ผิวหนังใช้ในก้อนมะเร็งเล็กๆ ซึ่งผู้ป่วยไม่สามารถผ่าตัดได้ <br />\n4. การใช้ยาเคมี ใช้เพียงเพื่อบรรเทาไม่สามารถหายขาดได้ <br />\n5. การฉายแสง ใช้เพื่อบรรเทาอาการของมะเร็ง <br />\n6. การใช้วิธีการผสมผสาน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #008000\">การป้องกัน</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">1. ไม่รับประทานอาหารที่มีเชื้อรา ระมัดระวังอาหารที่ตากแห้ง รวมทั้งอาหารที่เตรียมแล้ว เก็บค้างคืน เพราะอาจมีเชื้อราปะปนอยู่ <br />\n2. ไม่รับประทานอาหารซ้ำๆหรืออาหารที่ใส่ยากันบูด <br />\n3. ไม่รับประทานอาหารสุกๆดิบๆ เช่น ปลาดิบ ก้อยปลา เพราะอาจจะทำให้เป็น โรคพยาธิใบไม้ตับหรืออาหารที่หมัก เช่น ปลาร้า ปลาเจ่า แหนม ฯลฯ เพราะมีสาร ไนโตรซามีน ซึ่งทำให้เป็นโรคมะเร็งตับได้ <br />\n4. ควรรับประทานอาหารที่สะอาด และปรุงสุกใหม่ๆ <br />\n5. ถ้ามีอาการผิดปกติ ควรรีบปรึกษาแพทย์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\">ไปยัง  <a href=\"/node/45562\"><strong><span style=\"color: #800000\">โรคมะเร็ง</span></strong></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/45554\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">โรคไม่ติดต่อ</span></strong></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43031\"><img border=\"0\" width=\"75\" src=\"/files/u17867/pitlok_home_0.gif\" height=\"66\" /></a>           <a href=\"/node/45258\"><img border=\"0\" width=\"75\" src=\"/files/u17867/Info_Icon.jpg\" height=\"75\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1729596397, expire = 1729682797, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e33f36e47610a9541aefca3607eb2713' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มะเร็งตับ

 

 

มะเร็งตับ


ที่มา http://www.sk-hospital.com/~patho/img/liver.jpg

 

           มะเร็งตับ เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 ในเพศชายและอันดับ 2 ในเพศหญิง และเป็นมะเร็งที่มีการดำเนินโรคเร็วมาก มักจะ

เสียชีวิตใน 3 -6 เดือน

สาเหตุ

1. การเกิดของโรค แยกตามประเภทได้ 2 ชนิด คือ

     1.1 ชนิดที่เกิดกับตับโดยตรง (มะเร็งปฐมภูมิ) ในประเทศไทยพบมากมี 2 ชนิดคือ

               1.1.1 มะเร็งชนิดเซลล์ตับ เป็นมะเร็งที่พบได้ทั่วทุกภาค
               1.1.2 มะเร็งชนิดเซลล์ท่อน้ำดี เป็นมะเร็งที่พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 

     1.2 ชนิดที่ลุกลามมาจากมะเร็งของอวัยวะอื่น (มะเร็งทุติยภูมิ) เช่น มะเร็งลำไส้ใหญ่ และ ทวารหนักที่กระจายไปยังตับ
 

2.ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรค เช่น โรคไวรัสตับอักเสบชนิดบี พยาธิใบไม้ในตับ สารเคมีต่างๆ ยารักษาโรคบางชนิด ยาฆ่า

แมลง สารพิษที่เกิดจากเชื้อรา สารเคมีที่เกิด จากอาหารหมักดอง สุรา ฯลฯ ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะทางระบบอิมมูน คุณสมบัติ

ทางพันธุกรรม และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม เป็นสาเหตุช่วยในการเกิดโรค

ที่มา http://home.biotec.or.th/NewsCenter/my_documents/my_pictures/F7DC2_Horrors-Cancer-lg.jpg

อาการ
 
1. เบื่ออาหาร แน่นท้อง ท้องผูก 
2. อ่อนเพลีย น้ำหนักลด และมีไข้ต่ำๆ 
3. ปวดหรือเสียดชายโครงด้านขวา อาจคลำก้อนได้ 
4. ตัวเหลือง ตาเหลือง ท้องโตและบวมบริเวณขาทั้ง 2 ข้าง 

การตรวจวินิจฉัย

การตรวจและรักษามะเร็งตับในระยะแรกเริ่มมักได้ผลดี แต่มะเร็งตับระยะแรกเริ่มมักไม่มีอาการ ผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงควรปรึกษาแพทย์

1. การตรวจโดยเจาะเลือดหาระดับของสารแอลฟาฟีโตโปรตีน ซึ่งเป็นสารที่มะเร็งตับ ชนิดเซลล์ตับผลิตออกมา
2. การตรวจดูก้อนในตับโดยใช้อุลตราซาวด์ คอมพิวเตอร์เอ็กซเรย์ คลื่นแม่เหล็ก MRI หรือฉีดสีเข้าเส้นเลือดแดงที่ไปเลี้ยงตับ

การรักษา


1. การผ่าตัด เป็นวิธีที่ดีที่สุดที่หวังผลในการหายขาดได้ แต่ใช้ได้ ในผู้ป่วยที่ก้อนยังไม่โตมาก และการทำงานของตับยังดีอยู่
2. การฉีดยาเคมีและสารอุดตันเข้าเส้นเลือดแดงที่ไปหล่อเลี้ยง ก้อนมะเร็งทำให้ก้อนยุบลง (Chemoembolization)
3. การฉีดยา เช่น แอลกอฮอล์ เข้าก้อนมะเร็ง โดยผ่านทาง ผิวหนังใช้ในก้อนมะเร็งเล็กๆ ซึ่งผู้ป่วยไม่สามารถผ่าตัดได้
4. การใช้ยาเคมี ใช้เพียงเพื่อบรรเทาไม่สามารถหายขาดได้
5. การฉายแสง ใช้เพื่อบรรเทาอาการของมะเร็ง
6. การใช้วิธีการผสมผสาน

การป้องกัน

1. ไม่รับประทานอาหารที่มีเชื้อรา ระมัดระวังอาหารที่ตากแห้ง รวมทั้งอาหารที่เตรียมแล้ว เก็บค้างคืน เพราะอาจมีเชื้อราปะปนอยู่
2. ไม่รับประทานอาหารซ้ำๆหรืออาหารที่ใส่ยากันบูด
3. ไม่รับประทานอาหารสุกๆดิบๆ เช่น ปลาดิบ ก้อยปลา เพราะอาจจะทำให้เป็น โรคพยาธิใบไม้ตับหรืออาหารที่หมัก เช่น ปลาร้า ปลาเจ่า แหนม ฯลฯ เพราะมีสาร ไนโตรซามีน ซึ่งทำให้เป็นโรคมะเร็งตับได้
4. ควรรับประทานอาหารที่สะอาด และปรุงสุกใหม่ๆ
5. ถ้ามีอาการผิดปกติ ควรรีบปรึกษาแพทย์


 

ไปยัง  โรคมะเร็ง

 

โรคไม่ติดต่อ

 

          

 

 

สร้างโดย: 
You

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 464 คน กำลังออนไลน์