• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e4a99f169d4c13254e9a66b2f42a9c32' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n <a href=\"/node/48176\"><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u17867/banner.jpg\" height=\"201\" style=\"width: 536px; height: 169px\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\"><strong>โรคเบาหวาน</strong></span>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">               โรคเบาหวาน ถือเป็นปัญหาสุขภาพยอดฮิตที่เรามักจะได้ยินกันอยู่บ่อยๆ เนื่องจากคนไทยป่วยด้วย โรคเบาหวาน นี้มากถึง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">2-3 ล้านคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดย โรคเบาหวาน จัดอยู่ใน<span style=\"color: #800080\">อันดับที่ 5 ของโรคที่คุกคามคนไทย</span> พบได้ในทุกช่วงวัย อย่างไร</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ก็ตาม มีคนอีกจำนวนมากที่ป่วยด้วย โรคเบาหวาน แต่ไม่รู้ตัว ทำให้ละเลยการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี ซึ่งนั่นหมายความว่าผู้ป่วยได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ปล่อย</span><span style=\"color: #000000\">ให้โรคลุกลามจนอาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้  ดังนั้น วันนี้ลองมาสำรวจดูว่าคุณอยู่ในข่ายเสี่ยง โรคเบาหวาน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">หรือไม่ พร้อมๆ</span><span style=\"color: #000000\">กับทำความเข้าใจ โรคเบาหวาน นี้อย่างถูกต้องกัน</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">             โรคเบาหวาน (Diabetes Millitus) เกิดจาก<span style=\"color: #800080\">ตับอ่อนสร้าง &quot;ฮอร์โมนอินซูลิน&quot; (Insulin) ได้น้อย หรือไม่ได้เลย</span> ฮอร์โมนชนิดนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">มี</span><span style=\"color: #000000\">หน้าที่คอยช่วยให้ร่างกายเผาผลาญน้ำตาลมาใช้เป็นพลังงาน เมื่ออินซูลินในร่างกายไม่พอ น้ำตาลก็ไม่ถูกนำไปใช้ ทำให้เกิดการคั่ง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ของ</span><span style=\"color: #000000\">น้ำตาลในเลือดและอวัยวะต่างๆ เมื่อน้ำตาลคั่งในเลือดมากๆ ก็จะถูกไตกรองออกมาในปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะหวานหรือมีมดขึ้นได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">จึง</span><span style=\"color: #000000\">เรียกว่า &quot;เบาหวาน&quot; นั่นเอง</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u17867/38078_002.jpg\" height=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา  <a href=\"http://www.sahavicha.com/UserFiles/Image/38078_002.jpg\"><u><span style=\"color: #800080\">http://www.sahavicha.com/UserFiles/Image/38078_002.jpg</span></u></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">โรคเบาหวาน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ</span></strong> ซึ่งทั้ง 2 ชนิดนี้มีอาการ สาเหตุ ความรุนแรง และการรักษาต่างกัน ได้แก่</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">        1. <span style=\"color: #800080\">โรคเบาหวาน ชนิดพึ่งอินซูลิน (Insulin-dependent diabetes)</span> เป็นชนิดที่พบได้น้อย แต่มีความรุนแรงและอันตรายสูง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">มักพบ</span><span style=\"color: #000000\">ในเด็กและคนอายุต่ำกว่า 25 ปี แต่ก็อาจพบในคนสูงอายุได้บ้าง ตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้จะสร้างอินซูลินไม่ได้เลยหรือได้น้อย</span><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">เชื่อว่า</span><span style=\"color: #000000\">ร่างกายมีการสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นต่อต้านตับอ่อนของตัวเอง จนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ ดังที่เรียกว่า &quot;โรคภูมิแพ้ต่อตัว</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">เอง&quot;</span></span><span style=\"color: #000000\"> (autoimmune) ทั้งนี้ เป็นผลมาจากความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ร่วมกับการติดเชื้อหรือการได้รับสารพิษจากภายนอก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">        2. <span style=\"color: #800080\">โรคเบาหวาน ชนิดไม่พึ่งอินซูลิน (Non-insulin dependent diabetes)</span> เป็นเบาหวานชนิดที่พบเห็นกันเป็นส่วนใหญ่ มีความ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">รุนแรงน้อย มักพบในคนอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป แต่ก็อาจพบในเด็กหรือวัยหนุ่มสาวได้บ้าง โดยตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้ยังสามารถ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">สร้าง</span><span style=\"color: #000000\">อินซูลินได้ แต่ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย จึงทำให้มีน้ำตาลที่เหลือใช้กลายเป็นเบาหวานได้ บางครั้งถ้าระดับ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">น้ำตาลสูงมาก</span><span style=\"color: #000000\"> ก็อาจต้องใช้อินซูลินฉีดเป็นครั้งคราว แต่ไม่ต้องใช้อินซูลินตลอดไป และผู้ป่วยมักไม่เกิดภาวะคีโตซิส เหมือนกับชนิด</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">พึ่งอินซูลิน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>อาการ โรคเบาหวาน</strong></span> </span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\">ผู้ป่วยจะมีอาการปัสสาวะบ่อย (และออกครั้งละมากๆ ) กระหายน้ำ ดื่มน้ำบ่อย หิวบ่อย หรือกินข้าวจุ อ่อนเพลีย บางคนอาจสังเกต</span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ว่าปัสสาวะมีมดขึ้น</span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\">หากเป็นเบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน อาการต่างๆ มักเกิดขึ้นรวดเร็วร่วมกับน้ำหนักตัวที่ลดลงฮวบฮาบ ในช่วงระยะเวลาเพียงสัปดาห์</span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">หรือหนึ่งเดือน โดยในเด็กบางคนอาจมีอาการปัสสาวะรดที่นอนตอนกลางคืน</span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\">สำหรับคนที่เป็นเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน อาการมักค่อยเป็นค่อยไป แบบเรื้อรัง ผู้ป่วยมักมีรูปร่างอ้วน หญิงบางคนอาจมาหา</span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">หมอด้วยอาการคันตามช่องคลอดหรือตกขาว ในรายที่เป็นไม่มาก อาจไม่มีอาการผิดปกติอย่างชัดเจน และตรวจพบโดยบังเอิญจาก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">การตรวจปัสสาวะหรือตรวจเลือดขณะที่ไปหาหมอด้วยโรคอื่น </span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\">บางคนมีอาการคันตามตัว เป็นฝีบ่อย หรือเป็นแผลเรื้อรังรักษาหายยาก                                                                     </span></li>\n<li><span style=\"color: #000000\">ผู้หญิงบางคนอาจคลอดทารกที่มีน้ำหนักมากกว่าธรรมดา หรืออาจเป็นโรคครรภ์เป็นพิษ หรือคลอดทารกที่เสียชีวิตแล้วโดยไม่</span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ทราบสาเหตุ</span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #000000\">ในรายที่เป็นมานานโดยไม่ได้รับการรักษา อาจมาหาหมอด้วยภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ชาหรือปวดแสบปวดร้อนตามปลายมือ</span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ปลายเท้า ตามัวลงทุกที หรือต้องเปลี่ยนแว่นสายตาบ่อยๆ ความดันโลหิตสูง เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u17867/sick1.jpg\" height=\"146\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา    <a href=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/325/5325/images/sick1.jpg\"><u><span style=\"color: #800080\">http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/325/5325/images/sick1.jpg</span></u></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nไปยัง  <a href=\"/node/45554\"><strong><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800080\">โรคไม่ติดต่อ</span></span></strong></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43031\"><img border=\"0\" width=\"75\" src=\"/files/u17867/pitlok_home_0.gif\" height=\"66\" /></a>         <a href=\"/node/45258\"><img border=\"0\" width=\"75\" src=\"/files/u17867/Info_Icon.jpg\" height=\"75\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1729600756, expire = 1729687156, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e4a99f169d4c13254e9a66b2f42a9c32' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคเบาหวาน

 

 

โรคเบาหวาน


 

               โรคเบาหวาน ถือเป็นปัญหาสุขภาพยอดฮิตที่เรามักจะได้ยินกันอยู่บ่อยๆ เนื่องจากคนไทยป่วยด้วย โรคเบาหวาน นี้มากถึง

2-3 ล้านคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดย โรคเบาหวาน จัดอยู่ในอันดับที่ 5 ของโรคที่คุกคามคนไทย พบได้ในทุกช่วงวัย อย่างไร

ก็ตาม มีคนอีกจำนวนมากที่ป่วยด้วย โรคเบาหวาน แต่ไม่รู้ตัว ทำให้ละเลยการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี ซึ่งนั่นหมายความว่าผู้ป่วยได้

ปล่อยให้โรคลุกลามจนอาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้  ดังนั้น วันนี้ลองมาสำรวจดูว่าคุณอยู่ในข่ายเสี่ยง โรคเบาหวาน

หรือไม่ พร้อมๆกับทำความเข้าใจ โรคเบาหวาน นี้อย่างถูกต้องกัน

 

             โรคเบาหวาน (Diabetes Millitus) เกิดจากตับอ่อนสร้าง "ฮอร์โมนอินซูลิน" (Insulin) ได้น้อย หรือไม่ได้เลย ฮอร์โมนชนิดนี้

มีหน้าที่คอยช่วยให้ร่างกายเผาผลาญน้ำตาลมาใช้เป็นพลังงาน เมื่ออินซูลินในร่างกายไม่พอ น้ำตาลก็ไม่ถูกนำไปใช้ ทำให้เกิดการคั่ง

ของน้ำตาลในเลือดและอวัยวะต่างๆ เมื่อน้ำตาลคั่งในเลือดมากๆ ก็จะถูกไตกรองออกมาในปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะหวานหรือมีมดขึ้นได้

จึงเรียกว่า "เบาหวาน" นั่นเอง

 

ที่มา  http://www.sahavicha.com/UserFiles/Image/38078_002.jpg

 

โรคเบาหวาน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ ซึ่งทั้ง 2 ชนิดนี้มีอาการ สาเหตุ ความรุนแรง และการรักษาต่างกัน ได้แก่

        1. โรคเบาหวาน ชนิดพึ่งอินซูลิน (Insulin-dependent diabetes) เป็นชนิดที่พบได้น้อย แต่มีความรุนแรงและอันตรายสูง

มักพบในเด็กและคนอายุต่ำกว่า 25 ปี แต่ก็อาจพบในคนสูงอายุได้บ้าง ตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้จะสร้างอินซูลินไม่ได้เลยหรือได้น้อย 

เชื่อว่าร่างกายมีการสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นต่อต้านตับอ่อนของตัวเอง จนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ ดังที่เรียกว่า "โรคภูมิแพ้ต่อตัว

เอง" (autoimmune) ทั้งนี้ เป็นผลมาจากความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ร่วมกับการติดเชื้อหรือการได้รับสารพิษจากภายนอก

        2. โรคเบาหวาน ชนิดไม่พึ่งอินซูลิน (Non-insulin dependent diabetes) เป็นเบาหวานชนิดที่พบเห็นกันเป็นส่วนใหญ่ มีความ

รุนแรงน้อย มักพบในคนอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป แต่ก็อาจพบในเด็กหรือวัยหนุ่มสาวได้บ้าง โดยตับอ่อนของผู้ป่วยชนิดนี้ยังสามารถ

สร้างอินซูลินได้ แต่ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย จึงทำให้มีน้ำตาลที่เหลือใช้กลายเป็นเบาหวานได้ บางครั้งถ้าระดับ

น้ำตาลสูงมาก ก็อาจต้องใช้อินซูลินฉีดเป็นครั้งคราว แต่ไม่ต้องใช้อินซูลินตลอดไป และผู้ป่วยมักไม่เกิดภาวะคีโตซิส เหมือนกับชนิด

พึ่งอินซูลิน


อาการ โรคเบาหวาน

  • ผู้ป่วยจะมีอาการปัสสาวะบ่อย (และออกครั้งละมากๆ ) กระหายน้ำ ดื่มน้ำบ่อย หิวบ่อย หรือกินข้าวจุ อ่อนเพลีย บางคนอาจสังเกต

ว่าปัสสาวะมีมดขึ้น

  • หากเป็นเบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน อาการต่างๆ มักเกิดขึ้นรวดเร็วร่วมกับน้ำหนักตัวที่ลดลงฮวบฮาบ ในช่วงระยะเวลาเพียงสัปดาห์

หรือหนึ่งเดือน โดยในเด็กบางคนอาจมีอาการปัสสาวะรดที่นอนตอนกลางคืน

  • สำหรับคนที่เป็นเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน อาการมักค่อยเป็นค่อยไป แบบเรื้อรัง ผู้ป่วยมักมีรูปร่างอ้วน หญิงบางคนอาจมาหา

หมอด้วยอาการคันตามช่องคลอดหรือตกขาว ในรายที่เป็นไม่มาก อาจไม่มีอาการผิดปกติอย่างชัดเจน และตรวจพบโดยบังเอิญจาก

การตรวจปัสสาวะหรือตรวจเลือดขณะที่ไปหาหมอด้วยโรคอื่น

  • บางคนมีอาการคันตามตัว เป็นฝีบ่อย หรือเป็นแผลเรื้อรังรักษาหายยาก                                                                    
  • ผู้หญิงบางคนอาจคลอดทารกที่มีน้ำหนักมากกว่าธรรมดา หรืออาจเป็นโรคครรภ์เป็นพิษ หรือคลอดทารกที่เสียชีวิตแล้วโดยไม่

ทราบสาเหตุ

  • ในรายที่เป็นมานานโดยไม่ได้รับการรักษา อาจมาหาหมอด้วยภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ชาหรือปวดแสบปวดร้อนตามปลายมือ

ปลายเท้า ตามัวลงทุกที หรือต้องเปลี่ยนแว่นสายตาบ่อยๆ ความดันโลหิตสูง เป็นต้น

 

ที่มา    http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/325/5325/images/sick1.jpg

 


 

ไปยัง  โรคไม่ติดต่อ

 

        

 

สร้างโดย: 
You

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 471 คน กำลังออนไลน์