• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:13b4762bef0aaa28be3f772f43a5fad3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>ประวัติของความน่าจะเป็นแบบเบย์</strong>\n</p>\n<p>\n<strong>ปิแยร์ ซิมง ลาปลาซ (1749 - 1827)</strong><br />\nชื่อเรียก &quot;แบบเบย์&quot; เพิ่งจะมาใช้ในราวปี ค.ศ. 1950 โดยมีต้นกำเนิดมาจากชื่อของ โทมัส เบย์ <br />\nผู้ซึ่งเสนอทฤษฎีบทของเบย์เป็นคนแรก (เท่าที่ทราบในประวัติศาสตร์). ในเวลาถัดมาปิแยร์ ซิมง ลาปลาซได้<br />\nเสนอทฤษฎีบทของเบย์เช่นกัน โดยในขณะนั้นลาปลาซไม่ทราบว่ามีงานของเบย์อยู่. ทฤษฎีบทของเบย์เวอร์ชัน<br />\nลาปลาซถูกนำไปใช้งานอย่างกว้างขวางชนิดที่ตัวของเบย์เองก็อาจคาดไม่ถึง (ทั้งนี้เนื่องจากการแปลความหมายของ <br />\nความน่าจะเป็น ของลาปลาซนั้นกว้างมากอย่างที่ได้กล่าวเอาไว้ในบทนำ) โดยลาปลาซได้นำไปในประยุกต์ใช้ใน<br />\nปัญหาของกลศาสตร์, ดาราศาสตร์, สถิติการแพทย์ (medical statistics) หรือแม้แต่ นิติศาสตร์\n</p>\n<p>\nลาปลาซได้ใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็น(แบบเบย์) ในการทำนายมวลของดาวเสาร์โดยใช้ข้อมูลของวงโคจรดาวเสาร์<br />\nที่มีอยู่ในขณะนั้น โดย   ลาปลาซมั่นใจผลการทำนายมากถึงขนาดกล่าวว่า &quot;ผมพนัน 1 ต่อ 11000 ว่ามวลของดาว<br />\nเสาร์จะคลาดเคลื่อนไม่เกิน 1/100 ของมวลที่ผม        คำนวณได้&quot;. ถ้าเขายังมีชีวิตอยู่ไปอีก 150 ปี ลาปลาซคงจะ<br />\nได้ทราบว่าตัวเองชนะพนัน เนื่องจากในเวลานั้นพบว่ามวลของดาวเสาร์มีความคลาดเคลื่อนจากผลการคำนวณ<br />\nของลาปลาซเพียง 0.63%. สังเกตว่าไม่มีทางที่เราจะใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็นเชิงความถี่ในปัญหานี้ได้เลย<br />\n (ไม่สามารถสร้างการทดลองเชิงแนวคิดที่ว่า &quot;ทดลองสร้างดาวเสาร์มา N ครั้ง มี M ครั้งที่ ...&quot; <br />\nได้อย่างสมเหตุสมผล)\n</p>\n<p>\n<em></em>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/45417\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19250/BACK.jpg\" height=\"45\" width=\"100\" /></a>                      <a href=\"/node/44538\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19250/HOME.jpg\" height=\"38\" width=\"150\" />  </a>                 <a href=\"/node/45420\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19250/NEXT.jpg\" height=\"45\" width=\"100\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1729247428, expire = 1729333828, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:13b4762bef0aaa28be3f772f43a5fad3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติของความน่าจะเป็นแบบเบย์

ประวัติของความน่าจะเป็นแบบเบย์

ปิแยร์ ซิมง ลาปลาซ (1749 - 1827)
ชื่อเรียก "แบบเบย์" เพิ่งจะมาใช้ในราวปี ค.ศ. 1950 โดยมีต้นกำเนิดมาจากชื่อของ โทมัส เบย์
ผู้ซึ่งเสนอทฤษฎีบทของเบย์เป็นคนแรก (เท่าที่ทราบในประวัติศาสตร์). ในเวลาถัดมาปิแยร์ ซิมง ลาปลาซได้
เสนอทฤษฎีบทของเบย์เช่นกัน โดยในขณะนั้นลาปลาซไม่ทราบว่ามีงานของเบย์อยู่. ทฤษฎีบทของเบย์เวอร์ชัน
ลาปลาซถูกนำไปใช้งานอย่างกว้างขวางชนิดที่ตัวของเบย์เองก็อาจคาดไม่ถึง (ทั้งนี้เนื่องจากการแปลความหมายของ
ความน่าจะเป็น ของลาปลาซนั้นกว้างมากอย่างที่ได้กล่าวเอาไว้ในบทนำ) โดยลาปลาซได้นำไปในประยุกต์ใช้ใน
ปัญหาของกลศาสตร์, ดาราศาสตร์, สถิติการแพทย์ (medical statistics) หรือแม้แต่ นิติศาสตร์

ลาปลาซได้ใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็น(แบบเบย์) ในการทำนายมวลของดาวเสาร์โดยใช้ข้อมูลของวงโคจรดาวเสาร์
ที่มีอยู่ในขณะนั้น โดย   ลาปลาซมั่นใจผลการทำนายมากถึงขนาดกล่าวว่า "ผมพนัน 1 ต่อ 11000 ว่ามวลของดาว
เสาร์จะคลาดเคลื่อนไม่เกิน 1/100 ของมวลที่ผม        คำนวณได้". ถ้าเขายังมีชีวิตอยู่ไปอีก 150 ปี ลาปลาซคงจะ
ได้ทราบว่าตัวเองชนะพนัน เนื่องจากในเวลานั้นพบว่ามวลของดาวเสาร์มีความคลาดเคลื่อนจากผลการคำนวณ
ของลาปลาซเพียง 0.63%. สังเกตว่าไม่มีทางที่เราจะใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็นเชิงความถี่ในปัญหานี้ได้เลย
 (ไม่สามารถสร้างการทดลองเชิงแนวคิดที่ว่า "ทดลองสร้างดาวเสาร์มา N ครั้ง มี M ครั้งที่ ..."
ได้อย่างสมเหตุสมผล)

                                         

 

สร้างโดย: 
นิรดา หฤทัยสดใส

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 578 คน กำลังออนไลน์