• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ตำนานพระโกศ', 'node/17801', '', '18.223.195.101', 0, 'f78e1c2982bc5b72de690aeb49fcc091', 151, 1716220087) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:25111e6587b86192a2a17d5000d76aca' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"background-color: #ffff99\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><strong> </strong><span style=\"color: #ff0000\"> เศรษฐกิจพอเพียง</span></span></span></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"> </span></span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<img src=\"http://pet.nfe.go.th/nfe7603/UserFiles/Image/ast_01%5B1%5D.jpg\" />\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm\">\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><span style=\"font-family: 2005_iannnnnMTV\"><span style=\"font-size: x-large\">เ</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: x-large\">ศรษฐกิจพอเพียงคือ</span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: x-large\">?</span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm; text-indent: 1.27cm\">\n<strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">เ</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ศรษฐกิจพอเพียง</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">เป็น<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ปรัชญา\">ปรัชญา</a>ที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิตที่<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช\">พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช</a>มีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2517\">พ</a></span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2517\">.</a></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2517\">ศ</a></span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2517\">. 2517</a> </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">เป็นต้นมาและถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ </span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">4 </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ธันวาคม พ</span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">.</span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ศ</span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">. 2540 </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไข<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/วิกฤตการณ\">ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย</a> ให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแส<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/โลกาภิวัตน์\">โลกาภิวัตน์</a>และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ</span></span></span></strong>\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm; text-indent: 1.27cm\">\n<span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><strong><span style=\"color: #339966\">เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกำหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น </span></strong><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเวศ_วะสี\"><strong><span style=\"color: #339966\">ศ</span></strong></a></span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเวศ_วะสี\"><strong>.</strong></a></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเวศ_วะสี\"><strong>นพ</strong></a></span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเวศ_วะสี\"><strong>.</strong></a></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเวศ_วะสี\"><strong>ประเวศ วะสี</strong></a></span></span><span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><strong>, </strong></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เสน่ห์_จามริก\"><strong>ศ</strong></a></span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เสน่ห์_จามริก\"><strong>.</strong></a></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เสน่ห์_จามริก\"><strong>เสน่ห์ จามริก</strong></a></span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><strong>, </strong></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/อภิชัย_พันธเสน\"><strong>ศ</strong></a></span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/อภิชัย_พันธเสน\"><strong>.</strong></a></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/อภิชัย_พันธเสน\"><strong>อภิชัย พันธเสน</strong></a><strong> โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับ</strong><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=วัฒนธรรมชุมชน&amp;action=edit&amp;redlink=1\"><strong>วัฒนธรรมชุมชน</strong></a><strong> ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดย</strong><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/องค์กรพัฒนาเอกชน\"><strong>องค์กรพัฒนาเอกชน</strong></a><strong>จำนวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ </strong></span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><strong>2520 </strong></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><strong>และได้ช่วยให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย</strong></span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm\">\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><b>ความหมาย </b></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><b>: </b></span></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><b><span style=\"color: #99cc00; background-color: #ffff99\">เศรษฐกิจพอเพียง หรือ ระบบเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได้</span> </b></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm\">\n<span style=\"color: #339966\"> <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">- </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศ หรือภูมิภาคหนึ่ง ๆ ในการผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้น ๆ ได้โดยไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยต่างๆ ที่เราไม่ได้เป็นเจ้าของ </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><br />\n<span style=\"color: #339966\"> - </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\">เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลนั้น คือ ความสามารถในการดำรงชีวิตได้อย่างไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่อย่างประมาณตน ตามฐานะ ตามอัตภาพ และที่สำคัญไม่หลงใหลไปตามกระแสของวัตถุนิยม มีอิสรภาพ เสรีภาพ ไม่พันธนาการอยู่กับสิ่งใด </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><br />\n<span style=\"color: #339966\"> - </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\">หากกล่าวโดยสรุป คือ หันกลับมายึดเส้นทางสายกลาง ในการดำรง ชีวิต</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><strong><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ที่มาของนิยาม </span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot;3 </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ห่วง </span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">2 </span></span></span></strong><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><strong>เงื่อนไข</strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm\">\n<span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #339966\">ที่</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง&amp;action=edit&amp;redlink=1\"><span style=\"color: #339966\">คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง</span></a><span style=\"color: #339966\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สำนักงานคณ\"><span style=\"color: #339966\">สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ</span></a><span style=\"color: #339966\"> นำมาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยความ </span></span></span><span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot;</span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน</span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot; </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">บนเงื่อนไข </span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot;</span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ความรู้</span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot; </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">และ </span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot;</span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">คุณธรรม</span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot;</span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm; text-indent: 1.27cm\">\n<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/อภิชัย_พันธเสน\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\">อภิชัย พันธเสน</span></span></a><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #339966\"> ผู้อำนวยการ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม&amp;action=edit&amp;redlink=1\"><span style=\"color: #339966\">สถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม</span></a><span style=\"color: #339966\"> ได้จัดแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็น </span></span></span><span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot;</span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ข้อเสนอในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จริง</span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot; </span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ทั้งนี้เนื่องจากในพระราชดำรัสหนึ่ง ได้ให้คำอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียง ว่า </span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot;</span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">คือความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก และต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น</span></span><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot;</span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm; text-indent: 1.27cm\">\n<span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\">ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกำลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดำรงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินกว่าปัจจัยในการดำรงชีวิต เช่น การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชั่น </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm\">\n<span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\">การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทำให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถหลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการดำรงชีวิต</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm; text-indent: 1.27cm\">\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ซึ่ง ดร</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">. </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กล่าวว่า </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot;</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">หลาย ๆ คนกลับมาใช้ชีวิตอย่างคนจน ซึ่งเป็นการปรับตัวเข้าสู่คุณภาพ</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot;</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">และ </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot;</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">การลงมือทำด้วยความมีเหตุมีผล เป็นคุณค่าของเศรษฐกิจพอเพียง</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">&quot;</span></span></span>\n</p>\n<ol>\n<li><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><b>                            แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง </b></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><b>3 </b></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><b>ห่วง </b></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><b>2 </b></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><b>เงื่อนไข</b></span></span></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"> </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><br />\n<div style=\"text-align: center\">\n <img src=\"http://www.issaree.com/images/way.jpg\" />\n </div>\n<p>\n  <span style=\"color: #33cc33\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><b>เศรษฐกิจพอเพียงเชื่อว่าจะสามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมของชมชุนให้ดีขึ้นโดยมีปัจจัย </b></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"color: #33cc33\"><span style=\"font-size: large\"><b>2 </b></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"color: #33cc33\"><span style=\"font-size: large\"><b>อย่างคือ</b></span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #339966\">1.การผลิตจะต้องมีความสัมพันธ์กันระหว่าง ปริมาณ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ผลผลิต&amp;action=edit&amp;redlink=1\"><span style=\"color: #339966\">ผลผลิต</span></a><span style=\"color: #339966\">และ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/การบริโภค\"><span style=\"color: #339966\">การบริโภค</span></a><span style=\"color: #339966\"> </span></span></span>\n </p>\n<ol>\n<li>\n<p style=\"margin-bottom: 0.49cm\">\n <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #339966\">2.ชุมชนจะต้องมีความสามารถในการจัดการ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ทรัพยากร\"><span style=\"color: #339966\">ทรัพยากร</span></a><span style=\"color: #339966\">ของตนเอง </span></span></span>\n </p>\n</li>\n</ol>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm\">\n <span style=\"color: #33cc33\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"><b>ผลที่เกิดขึ้นคือ</b></span></span></span>\n </p>\n<ul>\n<li>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0cm\">\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">เศรษฐกิจพอเพียงสามารถที่จะคงไว้ซึ่งขนาดของประชากรที่ได้สัดส่วน </span></span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม</span></span></span> </p></li>\n<li><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">รักษาสมดุลของ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ระบบนิเวศ\"><span style=\"color: #0000ff\">ระบบนิเวศ</span></a> และปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอก </span></span></span></li>\n</ul>\n<p align=\"center\" style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm; text-indent: 1.27cm\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm\">\n <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: x-large; color: #99cc00; background-color: #ffff99\"><b>ประการที่สำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง</b></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: x-large\"> </span></span></span>\n </p>\n<ol>\n<li>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0cm\">\n <span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">1.พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">2-3 </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ต้น พอที่จะมีไว้กินเองในครัวเรือน เหลือจึงขายไป </span></span></span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n <span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">2.พออยู่พอใช้ ทำให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ของที่เป็นธรรมชาติ </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">(</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ใช้จุลินทรีย์ผสมน้ำถูพื้นบ้าน จะสะอาดกว่าใช้น้ำยาเคมี</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">) </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">รายจ่ายลดลง สุขภาพจะดีขึ้น </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">(</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">ประหยัดค่ารักษาพยาบาล</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">) </span></span></span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\">3.พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ ปัญญาจะไม่เกิด </span></span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n <span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">4.&quot; </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า </span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: large\"><b>อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง</b></span><span style=\"font-size: large\"> </span></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"color: #33ccff\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #ff0000\">&quot;</span> </span></span></span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p style=\"margin-bottom: 0.49cm\">\n <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: x-large; color: #99cc00; background-color: #ffff99\"><b>การนำเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันของฉัน</b></span></span>\n </p>\n</li>\n</ol>\n<ol>\n<li>\n<p align=\"justify\" style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0cm\">\n <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #99cc00\">1<span style=\"color: #339966\">.ซื้อแต่ของที่จำเป็นเท่านั้นไม่ซื้อของเกินความจำเป็นของตนเพราะถ้าของเหลือจะเป็นการเสียเงินโดยใช่เหตุ</span></span></span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p align=\"justify\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\">2.ซื้อของให้พอกับความจำเป็นในชีวิตประจำวันไม่ซื้อเกินความจำเป็นหรือไม่เพียงพอกับความจำเป็น</span></span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p align=\"justify\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\">3.ประหยัดอดออมแต่ใช่งกโดยใช่เหตุ </span></span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p align=\"justify\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\">4.การประหยัดของเราต้องไม่เดือดร้อนคนในครอบครัวหรือคนรอบข้าง</span></span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p align=\"justify\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\">5.ตัวเราและคนในครอบครัวช่วยกันประหยัดน้ำประหยัดไฟ</span></span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p align=\"justify\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n <span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">6.ตัวเราและคนในครอบครัวใช้รถขนส่งมวลชนเช่น รถเมล์ รถไฟฟ้า</span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">BTS </span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">รถไฟฟ้าใต้ดิน เป็นต้น เพื่อช่วยลดการใช้น้ามันและไม่เปลืองค่าน้ำมัน</span></span></span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p align=\"justify\" style=\"margin-bottom: 0.49cm\">\n <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large; color: #339966\">7.นำของเก่า เช่น เสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋า ฯลฯ นำมาใช้ใหม่</span></span>\n </p>\n</li>\n</ol>\n<p> <span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"color: #ff3399\"><span style=\"font-size: x-large\"><b>&quot;</b></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"color: #ff3399\"><span style=\"font-size: x-large\"><b>เศรษฐกิจพอเพียง จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน</b></span></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"color: #ff3399\"><span style=\"font-size: x-large\"><b>&quot;</b></span></span></span></p></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\"></span></span><span style=\"font-family: Angsana New, serif\"><span style=\"font-size: large\">\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n ที่มา \n </p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เศรษฐกิจพอเพียง\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87</a>\n </p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n น.ส.ไอลดา  ปักเกตุ  ม.5/81 เลขที่9\n </p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n มาส่งงานแล้วค่ะอาจารย์\n </p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm\">\n &nbsp;\n </p>\n<p style=\"margin-top: 0.49cm; margin-bottom: 0.49cm\">\n <a name=\"#top\" title=\"#top\"></a>\n </p>\n<p> </p></span></span></li>\n</ol>\n', created = 1716220157, expire = 1716306557, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:25111e6587b86192a2a17d5000d76aca' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เศรษฐกิจพอเพียง

รูปภาพของ sila15330

  เศรษฐกิจพอเพียง

ศรษฐกิจพอเพียงคือ?

ศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิตที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี .. 2517 เป็นต้นมาและถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ

เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกำหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น .นพ.ประเวศ วะสี, .เสน่ห์ จามริก, .อภิชัย พันธเสน โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับวัฒนธรรมชุมชน ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรพัฒนาเอกชนจำนวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 และได้ช่วยให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย

ความหมาย : เศรษฐกิจพอเพียง หรือ ระบบเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได้

 - เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศ หรือภูมิภาคหนึ่ง ๆ ในการผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้น ๆ ได้โดยไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยต่างๆ ที่เราไม่ได้เป็นเจ้าของ
 -
เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลนั้น คือ ความสามารถในการดำรงชีวิตได้อย่างไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่อย่างประมาณตน ตามฐานะ ตามอัตภาพ และที่สำคัญไม่หลงใหลไปตามกระแสของวัตถุนิยม มีอิสรภาพ เสรีภาพ ไม่พันธนาการอยู่กับสิ่งใด
 -
หากกล่าวโดยสรุป คือ หันกลับมายึดเส้นทางสายกลาง ในการดำรง ชีวิต

ที่มาของนิยาม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข

ที่คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นำมาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม"

อภิชัย พันธเสน ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม ได้จัดแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็น "ข้อเสนอในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จริง" ทั้งนี้เนื่องจากในพระราชดำรัสหนึ่ง ได้ให้คำอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียง ว่า "คือความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก และต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น"

ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกำลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดำรงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินกว่าปัจจัยในการดำรงชีวิต เช่น การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชั่น

การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทำให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถหลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการดำรงชีวิต

ซึ่ง ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กล่าวว่า "หลาย ๆ คนกลับมาใช้ชีวิตอย่างคนจน ซึ่งเป็นการปรับตัวเข้าสู่คุณภาพ"และ "การลงมือทำด้วยความมีเหตุมีผล เป็นคุณค่าของเศรษฐกิจพอเพียง"

  1.                             แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข

     เศรษฐกิจพอเพียงเชื่อว่าจะสามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมของชมชุนให้ดีขึ้นโดยมีปัจจัย 2 อย่างคือ

    1.การผลิตจะต้องมีความสัมพันธ์กันระหว่าง ปริมาณผลผลิตและการบริโภค

    1. 2.ชุมชนจะต้องมีความสามารถในการจัดการทรัพยากรของตนเอง

    ผลที่เกิดขึ้นคือ

    • เศรษฐกิจพอเพียงสามารถที่จะคงไว้ซึ่งขนาดของประชากรที่ได้สัดส่วน

      ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม

    • รักษาสมดุลของระบบนิเวศ และปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอก

     

    ประการที่สำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง

    1. 1.พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอที่จะมีไว้กินเองในครัวเรือน เหลือจึงขายไป

    2. 2.พออยู่พอใช้ ทำให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แต่ของที่เป็นธรรมชาติ (ใช้จุลินทรีย์ผสมน้ำถูพื้นบ้าน จะสะอาดกว่าใช้น้ำยาเคมี) รายจ่ายลดลง สุขภาพจะดีขึ้น (ประหยัดค่ารักษาพยาบาล)

    3. 3.พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อื่น เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ ปัญญาจะไม่เกิด

    4. 4." การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง "

    5. การนำเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันของฉัน

    1. 1.ซื้อแต่ของที่จำเป็นเท่านั้นไม่ซื้อของเกินความจำเป็นของตนเพราะถ้าของเหลือจะเป็นการเสียเงินโดยใช่เหตุ

    2. 2.ซื้อของให้พอกับความจำเป็นในชีวิตประจำวันไม่ซื้อเกินความจำเป็นหรือไม่เพียงพอกับความจำเป็น

    3. 3.ประหยัดอดออมแต่ใช่งกโดยใช่เหตุ

    4. 4.การประหยัดของเราต้องไม่เดือดร้อนคนในครอบครัวหรือคนรอบข้าง

    5. 5.ตัวเราและคนในครอบครัวช่วยกันประหยัดน้ำประหยัดไฟ

    6. 6.ตัวเราและคนในครอบครัวใช้รถขนส่งมวลชนเช่น รถเมล์ รถไฟฟ้าBTS รถไฟฟ้าใต้ดิน เป็นต้น เพื่อช่วยลดการใช้น้ามันและไม่เปลืองค่าน้ำมัน

    7. 7.นำของเก่า เช่น เสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋า ฯลฯ นำมาใช้ใหม่

    "เศรษฐกิจพอเพียง จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน"

     

     

    ที่มา 

    http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87

    น.ส.ไอลดา  ปักเกตุ  ม.5/81 เลขที่9

    มาส่งงานแล้วค่ะอาจารย์

     

     

     

     

     

     

     

     

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 305 คน กำลังออนไลน์