• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ช่วงชั้น 2 (ป.4-6)', 'taxonomy/term/12', '', '3.145.43.122', 0, '5f18f3494b7c1dd25b11832fbf8f13e3', 220, 1716031913) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e60527d493850b1c5534914c54078fed' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff6600\">รัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก</span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19301/465d2f0d3ab59.gif\" style=\"width: 322px; height: 13px\" height=\"13\" width=\"280\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #ff6600\"></span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u19301/1.jpg\" height=\"333\" width=\"227\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nแหล่งที่มา <a href=\"http://psc.212cafe.com/gallery/index.php?showimage=35287\">http://psc.212cafe.com/gallery/index.php?showimage=35287</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><b>ประวัติ</b> </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\">พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มีพระนามเดิมว่า ทองด้วง เกิดเมื่อ แรม 5 ค่ำ เดือน 4 ปีมะโรง จุลศักราช 1098 ตรงกับวันพุธที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นบุตรคนที่ 4 ของหลวงพินิจอักษร ( ทองดี ) กับ นางดาวเรือง ( หยก ) มีพี่น้องดังนี้<br />\nคนที่ 1 เป็นหญิงชื่อ สา ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น พระเจ้าพี่นางเธอ กรมสมเด็จพระเทพสุดาวดี<br />\nคนที่ 2 เป็นชายชื่อ ขุนรามณรงค์ ถึงแก่กรรมก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2<br />\nคนที่ 3 เป็นหญิงชื่อ แก้ว ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าพี่นางเธอ กรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์<br />\nคนที่ 4 เป็นชายชื่อ ทองด้วง ( รัชกาลที่ 1 )<br />\nคนที่ 5 เป็นชายชื่อ บุญมา ( กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท )<br />\nเมื่อเจริญวัยได้เข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในสมัยสมเด็จเจ้าฟ้าอุทุมพร กรมขุนพรพินิจ ( ขุนหลวงดอกมะเดื่อ ) <br />\nพ.ศ. 2300 อายุ 21 ปีได้บวช ณ วัดมหาทลาย เมื่อลาสิกขาบทแล้วกลับเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กหลวง <br />\nพ.ศ. 2303 อายุ 24 ปี ได้สมรสกับนางสาวนาก ธิดาของคหบดีตำบลอัมพวา แขวงเมืองสมุทรสงคราม<br />\nพ.ศ. 2304 อายุ 25 ปีในสมัยสมเด็จพระที่นั่งสุริยาสอมรินทร์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นหลวงยกบัตรเมืองราชบุรี<br />\nพ.ศ. 2311 ในสมัยพระเจ้าตากสิน ได้รับราชการมีฐานันดรศักดิ์เป็น พระราชวรินทร์ ( กรมพระตำรวจหลวง )<br />\nเมื่อเสร็จศึกในการปราบชุมนุมพิมาย ได้เลื่อนขึ้นเป็น พระยาอภัยรณฤทธิ์<br />\nพ.ศ. 2313 เมื่อครั้งปราบชุมนุมเจ้าพระฝาง มีความชอบได้เป็นพระยายมราช และทำหน้าที่สมุหนายกอีกด้วย<br />\nพ.ศ. 2314 ได้เลื่อนขึ้นเป็น เจ้าพระยาจักรี คุมทัพไปรบกับพม่าเสร็จศึกพม่าแล้ว ได้ยกทัพไปตีเขมรมาเป็นเมืองขึ้น พ.ศ. 2319 เป็นแม่ทัพไปตีเขมรป่าดง ( สุรินทร์ ขุขันธ์ สังขะ ) แคว้นลาวทางใต้ ได้เมืองจำปาศักดิ์ สีทันดร อัตตะปือ เสร็จศึกได้เลื่อนขึ้นเป็น สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก พิลึกมหมา ทุกนัคราระอาเดช นเรศรราช สุริยวงศ์ องค์อัครบาทมุลิกากร บวรรัตนปรินายก <br />\nพ.ศ. 2324 ยกทัพไปปราบจลาจลในเขมรแต่ไม่สำเร็จเพราะเกิดกบฏในกรุงธนบุรีต้องยกทัพกลับ<br />\nพ.ศ. 2325 อาณาประชาราษฏร์ กราบทูลเชิญขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ เมื่อ 6 เมษายน 2325 อยู่ในราชสมบัติ 27 ปี เสด็จสวรรคต 7 กันยายน 2352 รวมพระชนมายุ 73 พรรษา ครองราชย์ นาน 28 ปี มีโอรสธิดารวม 42 พระองค์\n<p>\n<b>การตั้งพระบรมวงศานุวงศ์</b></p></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\">ทรงสถาปนาพระราชวงศ์และข้าราชการที่ทำความดีความชอบขึ้นดำรงตำแหน่งที่สำคัญดังนี้ <br />\n1. โปรดให้สมเด็จพระอนุชาธิราช ขึ้นเป็นพระมหาอุปราช หรือ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ( วังหน้า )นามว่า “ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท”<br />\n2. สถาปนาพระโอรสองค์ใหญ่ ( ฉิม ) เป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ต่อมาภายหลังได้เป็นกรมพระราชวังบวรมหาอิศรสุนทร ในตำแหน่งวังหน้า หลังจาก กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ทิวงคตแล้ว<br />\n3. สถาปนาพระโอรสองค์รอง ( จุ้ย ) เป็นเจ้าฟ้ากรมขุนเสนานุรักษ์<br />\n4. สถาปนาพระยาสุริยอภัย ( ทองอิน ) พระเจ้าหลานเธอ เป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ หลังจากเสร็จศึกสงครามเก้าทัพแล้ว พ.ศ. 2328 ได้ขึ้นเป็น กรมพระราชวังบวรสถานภิมุข ( วังหลัง ) ซึ่งตำแหน่งวังหลังนี้ มีครั้งเดียวในสมัยรัตนโกสินทร์<br />\n5. สถาปนาเจ้าฟ้าสุพันธุวงศ์ โอรสของพระเจ้าตากสินอันเกิดจากพระราชธิดาองค์ใหญ่ของรัชกาลที่ 1 ซึ่งมีพระนามเดิมว่า ( ฉิมใหญ่ ) ขึ้นเป็น เจ้าฟ้ากรมขุนกระษัตรานุชิต<br />\nนอกจากนี้ยังได้โปรดให้สถาปนา สมเด็จพระพี่นางเธอ สมเด็จพระเจ้าน้องญาเธอ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ <br />\nสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ ขึ้นเป็นเจ้าต่างกรม ตั้งแต่กรมหมื่น จนถึงกรมพระอีก รวมหลายพระองค์ด้วยกัน<br />\nพระราชลัญจกร คือตราที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้ประทับ กำกับพระปรมาภิไธยและประทับกำกับเอกสารสำคัญ ที่ออกในพระปรมาภิไธย เป็นเครื่องหมายที่แสดงถึงพระราชอำนาจ และพระราชลัญจกรประจำแผ่นดินหรือประจำรัชกาลนั้น ยังเป็นเครื่องมงคลอีกด้วย ดังที่ปรากฎอยู่ในหมวดพระราชสิริซึ่งประกอบด้วย พระสุพรรณบัตร ดวงพระราชสมภพและ พระราชลัญจกรประจำแผ่นดิน ซึ่งจะต้องเชิญขึ้นทูลเกล้า ฯ ถวายในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พร้อมกับเครื่องมงคลอื่น ๆ <br />\nพระราชลัญจกรมี ๔ ประเภท คือ<br />\n1. พระราชลัญจกรสำหรับแผ่นดิน ใช้ประทับกำกับเอกสารสำคัญที่ออกในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ เช่น พระราชลัญจกรมหาโองการ พระราชลัญจกรไอยราพต<br />\n2. พระราชลัญจกรประจำแผ่นดิน หรือประจำรัชกาล ใช้ประทับกำกับพระบรมนามาภิไธยในเอกสารสำคัญ<br />\n3. พระราชลัญจกรประจำพระองค์ ใช้ประทับกำกับพระบรมนามาภิไธย ในเอกสารสำคัญส่วนพระองค์ ที่ไม่เกี่ยวด้วยราชการแผ่นดิน<br />\n4. พระราชลัญจกรประจำเครื่องราชอิสสริยาภรณ์ ใช้ประทับประกาศนียบัตรเครื่องราชอิสสริยาภรณ์ตามที่ กำหนดไว้</span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/46362\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/433970o8lcd5hrbz.gif\" height=\"100\" width=\"100\" />กลับหน้าหลัก</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                               </strong></span><a href=\"/node/45484\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>หน้าถัดไป</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                </strong></span><a href=\"/node/45078\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>ย้อนกลับ</strong></span></a><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/433970o8lcd5hrbz.gif\" height=\"100\" width=\"100\" /><strong> </strong>\n</div>\n<p>\n</p></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n', created = 1716031923, expire = 1716118323, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e60527d493850b1c5534914c54078fed' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

รัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
ประวัติ
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มีพระนามเดิมว่า ทองด้วง เกิดเมื่อ แรม 5 ค่ำ เดือน 4 ปีมะโรง จุลศักราช 1098 ตรงกับวันพุธที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นบุตรคนที่ 4 ของหลวงพินิจอักษร ( ทองดี ) กับ นางดาวเรือง ( หยก ) มีพี่น้องดังนี้
คนที่ 1 เป็นหญิงชื่อ สา ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น พระเจ้าพี่นางเธอ กรมสมเด็จพระเทพสุดาวดี
คนที่ 2 เป็นชายชื่อ ขุนรามณรงค์ ถึงแก่กรรมก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2
คนที่ 3 เป็นหญิงชื่อ แก้ว ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าพี่นางเธอ กรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์
คนที่ 4 เป็นชายชื่อ ทองด้วง ( รัชกาลที่ 1 )
คนที่ 5 เป็นชายชื่อ บุญมา ( กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท )
เมื่อเจริญวัยได้เข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในสมัยสมเด็จเจ้าฟ้าอุทุมพร กรมขุนพรพินิจ ( ขุนหลวงดอกมะเดื่อ )
พ.ศ. 2300 อายุ 21 ปีได้บวช ณ วัดมหาทลาย เมื่อลาสิกขาบทแล้วกลับเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กหลวง
พ.ศ. 2303 อายุ 24 ปี ได้สมรสกับนางสาวนาก ธิดาของคหบดีตำบลอัมพวา แขวงเมืองสมุทรสงคราม
พ.ศ. 2304 อายุ 25 ปีในสมัยสมเด็จพระที่นั่งสุริยาสอมรินทร์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นหลวงยกบัตรเมืองราชบุรี
พ.ศ. 2311 ในสมัยพระเจ้าตากสิน ได้รับราชการมีฐานันดรศักดิ์เป็น พระราชวรินทร์ ( กรมพระตำรวจหลวง )
เมื่อเสร็จศึกในการปราบชุมนุมพิมาย ได้เลื่อนขึ้นเป็น พระยาอภัยรณฤทธิ์
พ.ศ. 2313 เมื่อครั้งปราบชุมนุมเจ้าพระฝาง มีความชอบได้เป็นพระยายมราช และทำหน้าที่สมุหนายกอีกด้วย
พ.ศ. 2314 ได้เลื่อนขึ้นเป็น เจ้าพระยาจักรี คุมทัพไปรบกับพม่าเสร็จศึกพม่าแล้ว ได้ยกทัพไปตีเขมรมาเป็นเมืองขึ้น พ.ศ. 2319 เป็นแม่ทัพไปตีเขมรป่าดง ( สุรินทร์ ขุขันธ์ สังขะ ) แคว้นลาวทางใต้ ได้เมืองจำปาศักดิ์ สีทันดร อัตตะปือ เสร็จศึกได้เลื่อนขึ้นเป็น สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก พิลึกมหมา ทุกนัคราระอาเดช นเรศรราช สุริยวงศ์ องค์อัครบาทมุลิกากร บวรรัตนปรินายก
พ.ศ. 2324 ยกทัพไปปราบจลาจลในเขมรแต่ไม่สำเร็จเพราะเกิดกบฏในกรุงธนบุรีต้องยกทัพกลับ
พ.ศ. 2325 อาณาประชาราษฏร์ กราบทูลเชิญขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ เมื่อ 6 เมษายน 2325 อยู่ในราชสมบัติ 27 ปี เสด็จสวรรคต 7 กันยายน 2352 รวมพระชนมายุ 73 พรรษา ครองราชย์ นาน 28 ปี มีโอรสธิดารวม 42 พระองค์

การตั้งพระบรมวงศานุวงศ์

ทรงสถาปนาพระราชวงศ์และข้าราชการที่ทำความดีความชอบขึ้นดำรงตำแหน่งที่สำคัญดังนี้
1. โปรดให้สมเด็จพระอนุชาธิราช ขึ้นเป็นพระมหาอุปราช หรือ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ( วังหน้า )นามว่า “ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท”
2. สถาปนาพระโอรสองค์ใหญ่ ( ฉิม ) เป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ต่อมาภายหลังได้เป็นกรมพระราชวังบวรมหาอิศรสุนทร ในตำแหน่งวังหน้า หลังจาก กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ทิวงคตแล้ว
3. สถาปนาพระโอรสองค์รอง ( จุ้ย ) เป็นเจ้าฟ้ากรมขุนเสนานุรักษ์
4. สถาปนาพระยาสุริยอภัย ( ทองอิน ) พระเจ้าหลานเธอ เป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ หลังจากเสร็จศึกสงครามเก้าทัพแล้ว พ.ศ. 2328 ได้ขึ้นเป็น กรมพระราชวังบวรสถานภิมุข ( วังหลัง ) ซึ่งตำแหน่งวังหลังนี้ มีครั้งเดียวในสมัยรัตนโกสินทร์
5. สถาปนาเจ้าฟ้าสุพันธุวงศ์ โอรสของพระเจ้าตากสินอันเกิดจากพระราชธิดาองค์ใหญ่ของรัชกาลที่ 1 ซึ่งมีพระนามเดิมว่า ( ฉิมใหญ่ ) ขึ้นเป็น เจ้าฟ้ากรมขุนกระษัตรานุชิต
นอกจากนี้ยังได้โปรดให้สถาปนา สมเด็จพระพี่นางเธอ สมเด็จพระเจ้าน้องญาเธอ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ
สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ ขึ้นเป็นเจ้าต่างกรม ตั้งแต่กรมหมื่น จนถึงกรมพระอีก รวมหลายพระองค์ด้วยกัน
พระราชลัญจกร คือตราที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้ประทับ กำกับพระปรมาภิไธยและประทับกำกับเอกสารสำคัญ ที่ออกในพระปรมาภิไธย เป็นเครื่องหมายที่แสดงถึงพระราชอำนาจ และพระราชลัญจกรประจำแผ่นดินหรือประจำรัชกาลนั้น ยังเป็นเครื่องมงคลอีกด้วย ดังที่ปรากฎอยู่ในหมวดพระราชสิริซึ่งประกอบด้วย พระสุพรรณบัตร ดวงพระราชสมภพและ พระราชลัญจกรประจำแผ่นดิน ซึ่งจะต้องเชิญขึ้นทูลเกล้า ฯ ถวายในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พร้อมกับเครื่องมงคลอื่น ๆ
พระราชลัญจกรมี ๔ ประเภท คือ
1. พระราชลัญจกรสำหรับแผ่นดิน ใช้ประทับกำกับเอกสารสำคัญที่ออกในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ เช่น พระราชลัญจกรมหาโองการ พระราชลัญจกรไอยราพต
2. พระราชลัญจกรประจำแผ่นดิน หรือประจำรัชกาล ใช้ประทับกำกับพระบรมนามาภิไธยในเอกสารสำคัญ
3. พระราชลัญจกรประจำพระองค์ ใช้ประทับกำกับพระบรมนามาภิไธย ในเอกสารสำคัญส่วนพระองค์ ที่ไม่เกี่ยวด้วยราชการแผ่นดิน
4. พระราชลัญจกรประจำเครื่องราชอิสสริยาภรณ์ ใช้ประทับประกาศนียบัตรเครื่องราชอิสสริยาภรณ์ตามที่ กำหนดไว้
กลับหน้าหลัก                               หน้าถัดไป                ย้อนกลับ

สร้างโดย: 
นางสาวสิริมา ธนมาศพูนทรัพย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 303 คน กำลังออนไลน์