• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:00d6fab929652507d287d21fe24685f2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b><img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" /><img border=\"0\" width=\"225\" src=\"/files/u19123/2521321sn6lqlc2my.gif\" height=\"225\" style=\"width: 148px; height: 151px\" />                               <span style=\"color: #ff00ff\"> <span style=\"color: #800000\"> </span></span></b><span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #ff00ff\">ดอกมะลิ</span></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" align=\"left\" width=\"350\" src=\"/files/u19123/jusmin.jpg\" height=\"433\" style=\"width: 190px; height: 160px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">  </span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\">ชื่อสามัญ          :</span></span>   <span style=\"color: #ff0000\">Sambac, arabisn Jasmine</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">  <span style=\"color: #800000\">ชื่อวิทยาศาสตร์  :</span></span>  <span style=\"color: #ff00ff\"> Jasminum sambac Linn. </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\">  วงศ์      :</span></span>  <span style=\"color: #ff0000\"> OLEACEAE</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">  <span style=\"color: #800000\">ชื่ออื่น ๆ :</span>  </span> <span style=\"color: #ff00ff\">มะลิป้อม (ภาคเหนือ), มะลิขี้ไก่ (เชียงใหม่), มะลิลา (ทั่วไป), เตียมู    </span><span style=\"color: #ff00ff\">    </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">                 (ละว้า-เชียงใหม่) , ข้าวแตก (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน) , มะลิหลวง (แม่ฮ่องสอน)  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">                 มะลิซ้อน</span><span style=\"color: #ff00ff\">(ภาคกลาง) , บักหลี่ฮวย , เซียวหน่ำเคี้ยง (จีน) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\">ที่มา :</span></span> <a href=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/97/97/images/mom/mom13.jpg\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #b386e0\"><span style=\"color: #993366\">http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/97/97/images/mom/mom13.jpg</span></span></span></a>        </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" align=\"right\" width=\"470\" src=\"/files/u19123/jusmin6.jpg\" height=\"370\" style=\"width: 236px; height: 188px\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\">ลักษณะทั่วไป</span></span> </span>\n</div>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\">ต้น   :</span></span></span>  <span style=\"color: #ff0000\">เป็นพรรณไม้พุ่ม ขนาดกลาง แตกกิ่งก้านสาขาออกรอบ ๆ ลำต้น ทรงพุ่มจะสูงประมาณ 5 ฟุต </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\">ใบ   :</span></span> </span> <span style=\"color: #ff00ff\">ไม้ใบเดี่ยว จะแตกใบเรียงกันเป็นคู่ ๆ ไปตามก้านต้นลักษณะของใบมนป้อม ปลายใบแหลม โคนใบสอบเข้าหากัน ริมขอบใบก็เรียบไม่มีหยัก มีสีเขียวแก่เป็นมัน มีขนาดยาว ประมาณ 2-3 นิ้ว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\">ดอก :</span></span></span>  <span style=\"color: #ff0000\">ลักษณะของดอกมีทั้งดอกซ้อน และไม่ซ้อน ที่ซ้อนจะเรียกว่า มะลิซ้อน ที่ไม่ซ้อนนั้นเรียกกันว่าดอกลา หรือมะลิลา ดอกจะมีสีขาวประมีกลิ่นหอม ซึ่งมะลิจะมีกลิ่นหอมกว่ามะลิซ้อน ขนาดของดอกที่บานเต็มที่จะใหญ่ประมาณ 1 นิ้ว ดอกออกตามบริเวณยอดของก้าน</span>\n</p>\n<p>\n                                                   <span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\">ที่มา :</span></span></span><span style=\"color: #993366\"> </span><a href=\"http://board.yimwhan.com/data_user/mockupman/photo/cate_7/1.jpg\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #b386e0\"><span style=\"color: #993366\">http://board.yimwhan.com/data_user/mockupman/photo/cate_7/1.jpg</span></span></span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" align=\"left\" width=\"485\" src=\"/files/u19123/jusmin2.jpg\" height=\"348\" style=\"width: 241px; height: 214px\" /> <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\">การขยายพันธุ์  :</span></span> <span style=\"color: #ff00ff\">มะลิ เป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ชอบแดดจัด เจริญเติบโตได้ดีในดิน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">   ร่วน</span> <span style=\"color: #ff00ff\">ขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง ปักชำ หรือทับกิ่ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\">  ส่วนที่ใช้เป็นยา :</span></span><span style=\"color: #ff0000\"> ดอก ใบ ราก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\">  สรรพคุณ :</span></span> \n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\"> ดอก  :</span></span>  <span style=\"color: #ff00ff\">ใช้ดอกสด หรือแห้ง ประมาณ 1.5-3 กรัม นำมาต้มเอาน้ำกิน เป็นยาแก้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">            </span><span style=\"color: #ff00ff\">โรคบิด แก้ปวดท้อง หรือใช้เฉพาะดอกสดนำมาตำให้ละเอียดแล้วนำมา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">            พอกขมับ แก้</span><span style=\"color: #ff00ff\">ปวดศีรษะใช้พอก หรือเช็ด บริเวณเต้านมเพื่อให้หยุดการหลั่ง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">            ของน้ำนม ทาฝีหนอง</span><span style=\"color: #ff00ff\">ทาแผลเรื้อรัง เยื่อตาอักเสบ ผิวหนังผื่นคัน เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\">ที่มา :</span></span> <a href=\"http://www.pooyingnaka.com/diary/TRUE_LOVE/images/20070813_mom07.jpg\"><span style=\"color: #b386e0\"><span style=\"color: #993366\">http://www.pooyingnaka.com/diary/TRUE_LOVE/images/20070813_mom07.jpg</span></span></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"> <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"350\" src=\"/files/u19123/jusmin3.jpg\" height=\"350\" style=\"width: 227px; height: 173px\" /> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\">  ใบ    :</span></span>  <span style=\"color: #ff0000\">ใบสด ประมาณ 3-6 กรัม นำมาต้มเอาน้ำกิน แก้ไข้ปวดท้อง ท้องเสีย    </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">            อืดแน่น หรือใช้ใบตำสดให้ละเอียดใช้พอกแก้ฟกช้ำ โรค</span><span style=\"color: #ff0000\">ผิวหนัง แผล</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">            โรคผิวหนังเรื้อรัง และบาดแผล เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800000\">  ราก   :</span></span>  <span style=\"color: #ff00ff\">ใช้รากสด ประมาณ 1-1.5 กรัม นำมาต้มเอาน้ำกิน เป็นยาแก้ปวด         </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">            เลือดออกตามไรฟัน ปวดหัว แก้หอบหืด หลอดลมอักเสบ แก้</span><span style=\"color: #ff00ff\">โรคเกี่ยวกับ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">            ทรวงอก หรือใช้รากทำเป็นยาล้างตาแก้เยื่อตาอักเสบ เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\"> ที่มา :</span></span><span style=\"color: #993366\"> </span><a href=\"http://astro.popcornfor2.com/editor_store/horoscope/believe/believe_123.jpg\"><span style=\"color: #b386e0\"><span style=\"color: #993366\">http://astro.popcornfor2.com/editor_store/horoscope/believe/believe_123.jpg</span></span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" align=\"left\" width=\"360\" src=\"/files/u19123/jusmin4.jpg\" height=\"480\" style=\"width: 216px; height: 242px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">   <span style=\"color: #800000\">ข้อห้ามใช้ :</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">   1. รากมะลิกินมากอาจทำให้สลบได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">   </span><span style=\"color: #ff0000\">2. ดอกมะลิที่ใช้ มาแต่งเป็นกลิ่นชา ไม่ควรกินเป็นประจำ เพราะอาจทำให้ความจำ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">      เสื่อม หรือเป็นคนลืมได้ง่าย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">   <span style=\"color: #800000\">ข้อมูลทางเภสัชวิทยา  :</span></span><span style=\"color: #800000\"> </span> <span style=\"color: #ff00ff\">น้ำที่คั้นจากรากสด แล้วนำมาทดลองกับสัตว์ทดลอง เช่น  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">   นำฉีดเข้าในช่องท้องของหนูใหญ่ หนูตะเภา กบ นกพิราบ สุนัขกระต่าย ในปริมาณที่</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">   ไม่เท่ากัน มีผลปรากฏว่า ทำให้การเต้นหัวใจของกบและกระต่ายเต้นช้าลงทำให้หลอด</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">   เลือดดำของกระต่ายขยายตัว ทำให้กล้ามเนื้อของกบคลายตัวและทำให้มีฤทธิ์ในการ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">   กดประสาทของกระต่าย โดยทำให้ตัวกระต่ายเคลื่อนไหวได้ช้าลง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\">ที่มา</span> : </span><a href=\"http://www.pantipmarket.com/souvenir/picture/SV7458779-4.jpg\"><span style=\"color: #b386e0\"><span style=\"color: #993366\">http://www.pantipmarket.com/souvenir/picture/SV7458779-4.jpg</span></span></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/41861\" title=\"HOME\" class=\"node\"><img align=\"right\" width=\"228\" src=\"/files/u19123/2009-11-26_152257.png\" height=\"187\" style=\"width: 129px; height: 97px\" /> </a>\n</p>\n', created = 1719626705, expire = 1719713105, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:00d6fab929652507d287d21fe24685f2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดอกมะลิ

                                 ดอกมะลิ

 

  ชื่อสามัญ          :   Sambac, arabisn Jasmine

  ชื่อวิทยาศาสตร์  :   Jasminum sambac Linn.

  วงศ์      :   OLEACEAE

  ชื่ออื่น ๆ :   มะลิป้อม (ภาคเหนือ), มะลิขี้ไก่ (เชียงใหม่), มะลิลา (ทั่วไป), เตียมู       

                 (ละว้า-เชียงใหม่) , ข้าวแตก (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน) , มะลิหลวง (แม่ฮ่องสอน) 

                 มะลิซ้อน(ภาคกลาง) , บักหลี่ฮวย , เซียวหน่ำเคี้ยง (จีน)

ที่มา : http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/97/97/images/mom/mom13.jpg        

 

ลักษณะทั่วไป

ต้น   :  เป็นพรรณไม้พุ่ม ขนาดกลาง แตกกิ่งก้านสาขาออกรอบ ๆ ลำต้น ทรงพุ่มจะสูงประมาณ 5 ฟุต

ใบ   :  ไม้ใบเดี่ยว จะแตกใบเรียงกันเป็นคู่ ๆ ไปตามก้านต้นลักษณะของใบมนป้อม ปลายใบแหลม โคนใบสอบเข้าหากัน ริมขอบใบก็เรียบไม่มีหยัก มีสีเขียวแก่เป็นมัน มีขนาดยาว ประมาณ 2-3 นิ้ว

ดอก :  ลักษณะของดอกมีทั้งดอกซ้อน และไม่ซ้อน ที่ซ้อนจะเรียกว่า มะลิซ้อน ที่ไม่ซ้อนนั้นเรียกกันว่าดอกลา หรือมะลิลา ดอกจะมีสีขาวประมีกลิ่นหอม ซึ่งมะลิจะมีกลิ่นหอมกว่ามะลิซ้อน ขนาดของดอกที่บานเต็มที่จะใหญ่ประมาณ 1 นิ้ว ดอกออกตามบริเวณยอดของก้าน

                                                   ที่มา : http://board.yimwhan.com/data_user/mockupman/photo/cate_7/1.jpg

 

 การขยายพันธุ์  : มะลิ เป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ชอบแดดจัด เจริญเติบโตได้ดีในดิน

   ร่วน ขยายพันธุ์ด้วยการตอนกิ่ง ปักชำ หรือทับกิ่ง

  ส่วนที่ใช้เป็นยา : ดอก ใบ ราก

  สรรพคุณ : 

  ดอก  :  ใช้ดอกสด หรือแห้ง ประมาณ 1.5-3 กรัม นำมาต้มเอาน้ำกิน เป็นยาแก้

            โรคบิด แก้ปวดท้อง หรือใช้เฉพาะดอกสดนำมาตำให้ละเอียดแล้วนำมา

            พอกขมับ แก้ปวดศีรษะใช้พอก หรือเช็ด บริเวณเต้านมเพื่อให้หยุดการหลั่ง

            ของน้ำนม ทาฝีหนองทาแผลเรื้อรัง เยื่อตาอักเสบ ผิวหนังผื่นคัน เป็นต้น

ที่มา : http://www.pooyingnaka.com/diary/TRUE_LOVE/images/20070813_mom07.jpg

 

  ใบ    :  ใบสด ประมาณ 3-6 กรัม นำมาต้มเอาน้ำกิน แก้ไข้ปวดท้อง ท้องเสีย   

            อืดแน่น หรือใช้ใบตำสดให้ละเอียดใช้พอกแก้ฟกช้ำ โรคผิวหนัง แผล

            โรคผิวหนังเรื้อรัง และบาดแผล เป็นต้น

  ราก   :  ใช้รากสด ประมาณ 1-1.5 กรัม นำมาต้มเอาน้ำกิน เป็นยาแก้ปวด        

            เลือดออกตามไรฟัน ปวดหัว แก้หอบหืด หลอดลมอักเสบ แก้โรคเกี่ยวกับ

            ทรวงอก หรือใช้รากทำเป็นยาล้างตาแก้เยื่อตาอักเสบ เป็นต้น

 ที่มา : http://astro.popcornfor2.com/editor_store/horoscope/believe/believe_123.jpg

 

   ข้อห้ามใช้ :

   1. รากมะลิกินมากอาจทำให้สลบได้

   2. ดอกมะลิที่ใช้ มาแต่งเป็นกลิ่นชา ไม่ควรกินเป็นประจำ เพราะอาจทำให้ความจำ 

      เสื่อม หรือเป็นคนลืมได้ง่าย

   ข้อมูลทางเภสัชวิทยา  :  น้ำที่คั้นจากรากสด แล้วนำมาทดลองกับสัตว์ทดลอง เช่น 

   นำฉีดเข้าในช่องท้องของหนูใหญ่ หนูตะเภา กบ นกพิราบ สุนัขกระต่าย ในปริมาณที่

   ไม่เท่ากัน มีผลปรากฏว่า ทำให้การเต้นหัวใจของกบและกระต่ายเต้นช้าลงทำให้หลอด

   เลือดดำของกระต่ายขยายตัว ทำให้กล้ามเนื้อของกบคลายตัวและทำให้มีฤทธิ์ในการ

   กดประสาทของกระต่าย โดยทำให้ตัวกระต่ายเคลื่อนไหวได้ช้าลง

ที่มา : http://www.pantipmarket.com/souvenir/picture/SV7458779-4.jpg

สร้างโดย: 
น.ส.จินตนา ฝ่งใจเจริญ และ อาจารย์ วิริยะ โภคาพันธ์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 259 คน กำลังออนไลน์