• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1a3d8117ebb80aec5c2aa2c4f3756715' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\nการกำจัดความเครียด\n</p>\n<p>\n            \n</p>\n<p>\n                        <span style=\"font-family: Angsana New; font-size: large\">ความเครียด(</span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">stress<span lang=\"TH\">)คือผลรวมของปฏิกิริยาตามธรรมชาติของมนุษย์ ที่เกิดขึ้นเมื่อต้องเผชิญกับปัญหา การเปลี่ยนแปลง หรือสถานการณ์ต่างๆ ความเครียดที่เหมาะสม(</span>eustress<span lang=\"TH\">)จะกระตุ้นให้เกิดการปรับตัวแก้ไขปัญหา เกิดการพัฒนาและสร้างสรรค์ แต่ความเครียดที่มากเกินไปเป็นผลเสียต่อร่างกาย และจิตใจ   เกิดความไม่สบายใจ(</span>distress<span lang=\"TH\">) ทำให้เกิดอาการต่างๆ  ทำให้ปรับตัวไม่ได้ </span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> \n</p>\n<p>\n                      \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">                              ปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียด</span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">                               </span></b><b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b></p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">ร่างกายและจิตใจจะเกิดปฏิกิริยาตอบสนองเพื่อเตรียมตัวต่อสู้กับปัญหา ตามระยะต่างๆ  ดังนี้</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">                 1.ระยะตื่นตัว</span></b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">(</span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">Alarm stage<span lang=\"TH\">) ต่อมหมวกไตจะถูกกระตุ้นโดยประสาทอัตโนมัติให้หลั่งสารแอดรีนาลีน(</span>adrenaline<span lang=\"TH\">)  ซึ่งจะออกฤทธิ์ให้หัวใจสูบฉีดโลหิตเร็วและแรงขึ้น ความดันโลหิตขึ้นสูง  การหายใจเร็วและแรงขึ้น ม่านตาขยายกว้าง  กล้ามเนื้อตื่นตัวและมีเลือดไปเลี้ยงมากขึ้น  ประสาทสัมผัสตอบสนองอย่างดี</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">                  2. ระยะต่อสู้</span></b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"> (</span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">Resistance stage<span lang=\"TH\">) ร่างกายจะปรับลดสารแอดรีนาลีนลดลง  และลดความตื่นตัวทั่วๆไปโดยยังคงเหลือความตื่นตัวเฉพาะที่จำเป็นในบางอวัยวะ  ต่อมหมวกไตจะหลั่งสาร </span>corticoids </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">                 3.ระยะเหนื่อยล้า</span></b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">(</span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">Exhaustion stage<span lang=\"TH\">) อวัยวะต่างๆจะเริ่มทำงานลดลง  รวมทั้งสมองและประสาทอัตโนมัติ</span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n                           \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">                                      อาการของความเครียด</span></b>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">ปฏิกิริยาตอบสนองทางร่างกายต่างๆนั้น ร่างกายและจิตใจจะควบคุมให้อยู่ในภาวะสมดุล ไม่มีอาการแสดงรบกวน  แต่บางคนอาจมีอาการแสดงออกมาบ้างเมื่อรู้สึกเครียด   อาการของความเครียดมีดังนี้</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">1. อาการทางร่างกาย</span></b>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">เมื่อจิตใจเกิดความเครียด ประสาทอัตโนมัติภายในร่างกายถูกเร้าให้ทำงานเพิ่มขึ้น อวัยวะภายในซึ่งถูกกำกับโดยประสาทอัตโนมัติถูกกระตุ้นให้ทำงานมากขึ้น ได้แก่ หัวใจ หลอดเลือด ปอด กระเพาะอาหาร ลำไส้ กระเพาะปัสสาวะ  </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">2. อาการทางอารมณ์</span></b>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">ความเครียดทำให้ทำให้จิตใจเกิดความรู้สึกวิตกกังวล  กลัว ตื่นเต้น ไม่สบายใจ  บางคนมีอารมณ์ซึมเศร้า ท้อแท้ร่วมด้วย เบื่อ หงุดหงิด  ไม่สนุกสนานสดชื่นร่าเริงเหมือนเดิม อารมณ์ซึมเศร้ามักเกิดร่วมกับการสูญเสียหรือพลาดหวังอย่างรุนแรง อารมณ์ไม่สบายใจเหล่านี้อาจทำให้เกิดอาการอื่นๆตามมา ได้แก่ เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ  เพลีย  เหนื่อยง่าย  เหนื่อยหน่าย  </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">3. อาการทางจิตใจ</span></b>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">ความคิดมีการเปลี่ยนแปลงไปตามอารมณ์  คิดไม่ดี  คิดร้าย  ความคิดกังวลล่วงหน้า ย้ำคิดย้ำทำ  ไม่สามารถหยุดความคิดตนเองได้</span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">  <span lang=\"TH\">ความคิดควบคุมไม่ได้  คิดมาก  มองตนเองไม่ดี  มองคนอื่นไม่ดี  มองโลกในแง่ร้าย</span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n</p>\n<p></p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">                     ปัจจัยที่ทำให้เครียด</span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">                 1.ร่างกาย </span></b><b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b></p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">                </span></b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">ร่างกายที่อ่อนแอ  จะปรับตัวได้น้อย  เกิดอาการทางร่างกายและจิตใจได้ง่าย  เช่น  ผู้ที่ป่วย มีโรคประจำตัว  โรคร้ายแรงหรือเรื้อรัง  ทำให้เกิดความเครียดสูง</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">                    <b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">2. <span lang=\"TH\">จิตใจ</span></span></b> </span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">คนแต่ละคนจะมีพื้นอารมณ์ที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าแตกต่างกัน  บางคนเครียดง่าย  บางคนเครียดยาก  บางคนปรับตัวเก่ง  สิ่งเหล่านี้ส่วนหนึ่งเป็นพื้นฐานที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด  อีกส่วนเกิดจากการเลี้ยงดูภายในครอบครัว  การได้มีโอกาสเผชิญปัญหา ได้แก้ไขปัญหาจนสำเร็จ การได้ฝึกฝนจนเกิดความเคยชินกับปัญหา  จะทำให้คนๆนั้นเผชิญความเครียดเก่ง มีการปรับตัวได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">                    3<span lang=\"TH\">. สิ่งเร้าภายนอก</span></span></b>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">สิ่งเร้าในชีวิตประจำวัน  เช่น การเรียน  หรือการทำงาน</span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">  <span lang=\"TH\">เป็นตัวกระตุ้นสำคัญที่ทำให้จิตใจมีความเครียด วิตกกังวลแตกต่างกัน  งานที่มีอันตราย  ความเสี่ยงสูง  ไม่แน่นอน  งานที่ต้องอดนอน  เวลานอนไม่แน่นอน   เกิดอุบัติเหตุสูง  การทำงานน่าเบื่อ  ขาดการพักผ่อนหรือผ่อนคลาย  งานที่มีความคาดหวังสูง   </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"><b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">4. <span lang=\"TH\">ความสามารถในการปรับตัว</span></span></b> </span></span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"></span></span></p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">แต่ละคนมีวิธีการปรับตัวแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับพื้นฐานบุคลิกภาพ  ถ้าไม่มีการฝึกในการเผชิญความเครียดอย่างถูกต้อง  จะใช้วิธีการแก้ไขปัญหาแบบเดิม ซึ่งอาจไม่ถูกต้อง และเป็นผลเสียต่อสมรรถภาพ เช่น บางคนใช้วิธีโหมมากๆ โดยคิดว่ายิ่งหนักยิ่งดี แต่ความจริงแล้ว ควรจะมีความพอดีๆ หนักมากเกินไปร่างกายจะทรุดโทรม จิตใจตึงเครียด ทำให้ยิ่งผลงานแย่ลง  บางคนเวลาเตรียมหรือซ้อมทำได้ดี  แต่เวลาทำจริงเกิดความเครียด  ตื่นเต้นจนทำได้ต่ำกว่าความสามารถที่แท้จริง  บางคนมีอาการของความเครียดออกมาทางร่างกาย  ทำให้เหงื่อออกมาก  ใจเต้นใจสั่น มือสั่น รบกวนการทำงาน  บางคนหลบเลี่ยง  บางคนยอมเสี่ยงมากเกินไปจนเป็นอันตราย</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">5. <span lang=\"TH\">สิ่งแวดล้อม</span></span></b> </span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">                สิ่งแวดล้อมที่ร้อน เสียงดัง  คนใกล้ชิดที่เครียด  บรรยากาศที่เร่งรีบ  ไม่เป็นกันเอง  การแข่งขันสูง  มีการตั้งเป้าหมายจากภายนอกสูง</span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">                    โรคที่เกิดจากความเครียด</span></b>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">โรคเครียดจากการปรับตัว</span></b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">(Adjustment disorders)<span lang=\"TH\">  เกิดจากความเครียดในระยะแรกๆ ทำให้เกิดอาการ เนื่องจากการปรับตัวยังทำได้ไม่ดีนัก  เกิดเป็นอาการทางอารมณ์ที่ตึงเครียด  อาการทางร่างกายระบบต่างๆ  นอนไม่หลับ  อาการเกิดในระยะแรกที่เผชิญความเครียด(ภายใน 3 เดือนแรก)  หลังจากนั้นอาการจะลดลง  เริ่มปรับตัวได้จนเป็นปกติ  แม้ว่าสาเหตุที่ทำให้เครียดนั้นยังคงอยู่</span></span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">โรคทางกายที่เกิดจากความเครียด</span></b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"> (</span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">Psychosomatic disorders)  <span lang=\"TH\">เกิดจากระบบการทำงานของร่างกายที่ถูกเร้าจากความเครียดนานๆ  ประสาทอัตโนมัติ ต่อมไร้ท่อ  ภูมิต้านทานโรค จะทำงานแปรปรวนจนเกิดโรคต่างๆทางร่างกาย</span></span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\">โรคประสาทวิตกกังวล</span></b><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"> (</span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">Anxiety disorders)  <span lang=\"TH\">เป็นโรคที่มีอาการวิตกกังวลเรื้อรัง  กลัวเรื้อรัง</span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>  \n</p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small\">                                                         วิธีจัดการกับความเครียด</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small\">1. ค้นหาปัญหาที่ทำให้เกิดความเครียด เป็นข้อที่สำคัญที่สุด หากไม่ทราบสาเหต ุก็ไม่สามารถป้องกันได้ บางท่านอาจจะไม่ทราบว่าเครียดจากอะไร  ท่านผู้อ่านลองสำรวจตัวเองสิว่าชีวิตประจำวันของท่านมีอะไรบ้างที่ท่านเบื่อ เช่นการพูดคุยกับภรรยา การอาบน้ำลูก รถติด งานเร่ง งานน่าเบื่อ งานมาก บทบาทไม่ชัดเจนฯลฯ</span></span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> \n</p>\n<p><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small\"></span></span></span></p>\n<p>\n         2.<a target=\"main\" title=\"การป้องกัน\" name=\"การป้องกัน\"></a><span style=\"font-size: x-small\"><b>การป้องกัน</b></span><span style=\"font-size: x-small\">หลังจากทราบสาเหตุแล้วการป้องกันความเครียดจะเป็นวิธีที่ไม่ให้เกิดความเครียดซึ่งมีวิธีการต่างๆดังนี้ การเตรียมตัวเพื่อรับความเครียดสามารถทำได้ดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">                       - การวางแผน เมื่อเกิดปัญหาหรือความเครียดพยายามตั้งสติและใช้ปัญญาหาทางแก้ไข</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">                         - การสื่อสาร การสื่อสารจะช่วยลดความขัดแย้ง</span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p>\n                 3. <a target=\"main\" title=\"แก้ไข\" name=\"แก้ไข\"></a><span style=\"font-size: x-small\"><b>แก้ไข</b></span><span style=\"font-size: x-small\">แม้ว่าเราไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงความเครียด แต่เราสามารถลดโรคที่เกิดจากความเครียดโดย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">                                    - ปรึกษากับเพื่อน ครอบครัว หรือเพื่อนร่วมงานจะช่วยท่านมองปัญหาในแง่มุมอื่นๆ   </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">                                     - อย่าซึมเศร้า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">                                    - ทำชีวิตให้สบายๆอย่าทำชีวิตให้วุ่นวาย</span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> \n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p>\n<a target=\"main\" title=\" ยอมรับความจริง\" name=\" ยอมรับความจริง\"></a><span style=\"font-size: x-small\"><b>                    4. ยอมรับความจริง</b></span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">ยอมรับความจริงว่าท่านสามารถเปลี่ยนแปลงตัวเองได้แต่ท่านไม่สามารถเปลี่ยนแปลงคนอื่น เพราะหากท่านคิดเปลี่ยนแปลงคนอื่นแล้วไม่สำเร็จท่านก็จะเกิดความเครียด</span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">ยอมรับความจริงว่าคนทุกคนไม่มีใครที่สมบูรณ์แบบต้องมีข้อบกพร่องยอมรับกับข้อบกพร่องความเครียดจะน้อยลง หลายคนคาดหวังว่าคนใช้จะสามารถทำงานได้ดีเท่ากับที่ตัวเองทำ เมื่อคนใช้ทำไม่ได้ก็เกิดความเครียด<br />\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> </p></span></li>\n</ul>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p>\n                  5. <a target=\"main\" title=\"หลีกเลี่ยง\" name=\"หลีกเลี่ยง\"></a><span style=\"font-size: x-small\"><b>หลีกเลี่ยง</b></span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">หลีกเลี่ยงความเครียดเล็กน้อย เช่นรถติดก็ออกจากบ้านให้เช้าขึ้น หลีกเลี่ยงไปใช้เส้นทางอื่น</span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">หลีกเลี่ยงหรืออยู่ห่างๆบุคคลที่ทำให้ท่านเครียด เช่นแฟนที่ขี้บ่น เจ้านายที่จุกจิก</span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">หลีกเลี่ยงการรับผิดชอบงานที่มากเกินไป</span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">เมื่อมีความเครียดให้หยุดงานสักพักและหลีกหนีจากสถานการณ์ที่ทำให้คุณเครียด</span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">หลีกเลี่ยงการถกเถียงประเด็นที่หลีกเลี่ยงไม่ได้หรือประเด็นที่หาข้อสรุปไม่ได้<br />\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> </p></span></li>\n</ul>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p>\n            6.<a target=\"main\" title=\"การปรับเปลี่ยน\" name=\"การปรับเปลี่ยน\"></a><span style=\"font-size: x-small\"><b>การปรับเปลี่ยน</b></span><span style=\"font-size: x-small\">เป็นการปรับเปลี่ยนขบวนความคิดและการปฏิบัติตนเพื่ออนาคตที่ดีกว่า</span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">ปรับเปลี่ยนวิธีคิด มองโลกในแง่ดีเสมอไม่พยายามมองโลกในแง่ร้าย ทุกปัญหามีทางออก เปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส โลกมี่ทั้งกลางวันและกลางคืน หาหนทางที่จะพลิกสถานการณ์</span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รู้จักปฏิเสธในส่วนไม่ใช่ความรับผิดชอบของตัวเอง ลดความรีบร้อน หัดทำงานให้เสร็จที่ละอย่าง หัดกระจายงานสู่ผู้อื่น หางานอดิเรกทำที่ทำให้หายเบื่อ<br />\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> </p></span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">         7. วิธีการผ่อนคลายความเครียด</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small\">                </span><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<ul>\n<li>หลับตาลงสองข้าง</li>\n<li>มุ่งความสนใจไปที่เท้าสองข้าง</li>\n<li>หายใจเข้าและเกร็งกล้ามเนื้อทั้งหมดที่เท้าจนตึง</li>\n<li>ให้คงอย่างนั้น 3-4 วินาที โดยที่ยังหายใจเข้าอยู่</li>\n<li>จากนั้นให้ผ่อนหายใจออกช้าๆและผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่เท้า</li>\n<li>เมื่อผ่อนคลายเสร็จคุณจะรู้สึกตึงๆกล้ามเนื้อเท้า</li>\n<li>จากนั้นมุ่งไปยังกล้ามเนื้อน่องทั้งสองข้าง</li>\n<li>ให้ทำแบบนี้กับกล้ามเนื้อส่วนอื่นของร่างกาย เช่น ต้นขา สะโพก ช่องท้อง หน้าอก ไหล่ คอ หน้า<br />\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">                       8. self-esteem</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">คนที่มี</span><b><span style=\"font-size: x-small\"> self-esteem</span></b><span style=\"font-size: x-small\"> มักจะประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้</span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">มองโลกในแง่ดีเสมอ มองวิกฤตให้เป็นโอกาส เมื่อมีมืดต้องมีสว่าง มีร้ายต้องมีดี ขาวคู่กับดำ</span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">ประเมินตัวเราให้มีคุณค่าอยู่เสมอ</span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">เชื่อมั่นในความสามารถตัวเอง</span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">มองว่าตัวเราเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตและเราสามารถเปลี่ยนแปลงตามที่เราต้องการ<br />\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> </p></span></li>\n</ul>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"></span><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p>\n    8.การออกกำลังกาย\n</p>\n<p>\n             การออกกำลังกายไม่ได้หมายถึงการต้องไปแข่งขันกีฬากับผู้อื่น แต่การออกกำลังกายเป็นการแข่งขันกับตัวเอง\n</p>\n<p>\n              หลายคนก่อนจะออกกำลังกายมักจะอ้างเหตุผลของการไม่ออกกำลังกาย เช่น ไม่มีเวลา ไม่มีสถานที่ ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ ปัญหาเกี่ยวกับอากาศ ทั้งหมดเป็นข้ออ้างที่จะไม่ออกกำลังกาย แต่ลืมไปว่าการออกกำลังกายอาจจะให้ผลดีมากกว่าสิ่งที่เขาเสียไป</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n          9. <a target=\"_blank\" href=\"/diet_index2.htm\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เรื่องเกี่ยวกับอาหารอื่น</span></u></a>\n</p>\n<p>\n          อาหารที่รับประทานต้องมีพลังงานเพียงพอ และมีสารอาหารเพียงพอ\n</p>\n<p>\nกลุ่มคนทั่วๆไป\n</p>\n<ul>\n<li>รับประทานอาหารหลากหลายให้ครบห้าหมู่โดยหลีกเลี่ยงอาหารไขมันอิ่มตัว [Saturated fat],Tranfatty acid น้ำตาล เกลือ และสุรา </li>\n<li>ปริมาณพลังงานที่ได้รับไม่ควรเกินค่าที่กำหนด</li>\n</ul>\n<p>\nกลุ่มคนต่างๆ\n</p>\n<ul>\n<li>ผู้ที่สูงอายุมากกว่า 50 ปีควรจะได้รับวิตามิน B12 เสริม</li>\n<li>หญิงตั้งครรภ์หรือวางแผนตั้งครรภ์ควรจะเสริมอาหารที่มีธาตุเหล็ก และอาหารที่มีวิตามินซีสูงเพื่อเพิ่มการดูดซึมธาตุเหล็ก</li>\n<li>หญิงตั้งครรภ์หรือวางแผนตั้งครรภ์ควรจะเสริมอาหารที่มีกรดโฟลิก</li>\n<li>ผู้สูงอายุที่มีผิวคล้ำหรือไม่ถูกแดดควรจะได้วิตามินดีเสริม<br />\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></li>\n</ul>\n<ol>\n<li value=\"2\" class=\"style9\">กลุ่มคนอ้วนหรือมีน้ำหนักเกิน</li>\n</ol>\n<p>\nคำแนะนำ\n</p>\n<ul>\n<li>การควบคุมน้ำหนักจะต้องรับประทานอาหารให้พลังงานที่ได้รับและใช้ไปเกิดความสมดุล</li>\n<li>การลดน้ำหนักจะต้องค่อยลดพลังงานที่ได้รับจากอาหารโดยที่ไม่ขาดสารอาหาร และเพิ่มการออกกำลังกาย </li>\n<li>สำหรับเด็กที่มีน้ำหนักเกินจะต้องปรึกษาแพทย์ดูแล ก่อนการจำกัดอาหาร</li>\n<li>สำหรับคนท้องต้องควบคุมน้ำหนักอย่าให้เกิน</li>\n<li>สำหรับคนทั่วไปที่มีโรคจะต้องปรึกษาแพทย์ก่อนการควบคุมอาหาร<br />\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></li>\n<p>\n <b><span style=\"font-size: x-small\">            10. การนอนไม่หลับ</span></b>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\">                   การนอนเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต คนเราใช้เวลาหนึ่งในสามในการนอนแต่นักวิทยาศาสตร์ก็ยังไม่ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับการนอนเท่าใด คนเราจะมีช่วงที่ง่วงนอน 2ช่วงคือกลางคืน และตอนเที่ยงวันจึงไม่แปลกใจกับคำว่าท้องตึงหนังตาหย่อนในตอนเที่ยง</span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> \n </p>\n<p> <span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\"><b>                             คนเราต้องการนอนวันละเท่าใด</b></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\">                             ความต้องการการนอนไม่เท่ากันในแต่ละคนขึ้นกับอายุ ทารกต้องการนอนวันละ 16 ชั่วโมง วัยรุ่นต้องการวันละ 9 ชั่วโมง ผู้ใหญ่ต้องการวันละ 7-8 ชั่วโมง แต่คนบางคนก็อาจจะต้อง</span><span style=\"font-size: x-small\">การนอนน้อยเหลือเพียงวันละ 5 ชั่วโมง หากนอนไม่พอร่างกายต้องการการนอนเพิ่มในวันรุ่งขึ้น</span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> \n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\"></span>\n </p>\n<p> <span style=\"font-size: x-small\">                                  </span><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\"><b>                               การนอนหลับจำเป็นอย่างไรต่อร่างกาย</b></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\"> ร่างกายเราเหมือนเครื่องจักรทำงานตลอดเวลาการนอนเหมือนให้เครื่องจักรได้หยุดทำงาน สะสมพลังงานและขับของเสียออก การนอนจึงจำเป็นสำหรับร่างกายมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีการศึกษาว่าการนอนไม่พอจะมีอันตรายการประสานระหว่างมือและตาจะเหมือนกับผู้ที่ได้รับสารพิษ ผู้ที่นอนไม่พอหากดื่มสุราจะทำให้ความสามารถลดลงอ่อนเพลียมาก การดื่มกาแฟก็ไม่สามารถทำให้หายง่วง</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\">มีการทดลองในหนูพบว่าหากนอนไม่พอหนูจะมีอายุสั้น ภูมิคุ้มกันต่ำลง สำหรับคนหากนอนไม่พอจะมีอาการง่วงและไม่มีสมาธิ ความจำไม่ดี ความสามารถในการคำนวณด้อยลง หากยังนอนไม่พอจะมีอาการภาพหลอน อารมณ์จะแกว่ง การนอนไม่พอเป็นสาเหตุของอุบัติต่างๆ เชื่อว่าเซลล์สมองหากไม่ได้นอนจะขาดพลังงานและมีของเสียคั่ง นอกจากนั้นการนอนหลับสนิทจะทำให้มีการหลั่งฮอร์โมนเพื่อการเจริญเติบโต (growth hormone)</span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> \n </p>\n<p> <span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\"><b>                               จะปรึกษาแพทย์เมื่อไร</b></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\">                                  ถ้าหากอาการนอนไม่หลับเป็นมากกว่า 1 สัปดาห์ หรือทำให้ไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในเวลากลางวัน ก่อนพบแพทย์ควรทำตารางสำรวจพฤติกรรมการนอนประมาณ 10 วันเพื่อให้แพทย์วินิจฉัย ในการรักษาแพทย์จะแนะนำเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการนอน ถ้าไม่ดีจึงจะให้ยานอนหลับ</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\">                                   การนอนหลับอย่างพอเพียงทั้งระยะเวลาและคุณภาพของการนอนหลับจะเป็นปัจจัยในการส่งเสริมสุขภาพที่ดีเหมือนกับการรับประทานอาหารที่มีคุณภาพ และการออกกำลังกาย</span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>  \n </p>\n<p> </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\"></span>\n </p>\n<p> \n</p></ul>\n<p></p>\n', created = 1719622303, expire = 1719708703, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1a3d8117ebb80aec5c2aa2c4f3756715' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9b48a83ae51d47304a876d5097e8c570' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\nการกำจัดความเครียด\n</p>\n<p>\n            \n</p>\n<p>\n                        <span style=\"font-family: Angsana New; font-size: large\">ความเครียด(</span><span style=\"font-family: Angsana New; font-size: 14pt\">stress<span lang=\"TH\">)คือผลรวมของปฏิกิริยาตามธรรมชาติของมนุษย์ ที่เกิดขึ้นเมื่อต้องเผชิญกับปัญหา การเปลี่ยนแปลง หรือสถานการณ์ต่างๆ ความเครียดที่เหมาะสม(</span>eustress<span lang=\"TH\">)จะกระตุ้นให้เกิดการปรับตัวแก้ไขปัญหา เกิดการพัฒนาและสร้างสรรค์ แต่ความเครียดที่มากเกินไปเป็นผลเสียต่อร่างกาย และจิตใจ   เกิดความไม่สบายใจ(</span>distress<span lang=\"TH\">) ทำให้เกิดอาการต่างๆ  ทำให้ปรับตัวไม่ได้ </span></span></p>\n', created = 1719622303, expire = 1719708703, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9b48a83ae51d47304a876d5097e8c570' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การจัดการความเครียด

การกำจัดความเครียด

            

                        ความเครียด(stress)คือผลรวมของปฏิกิริยาตามธรรมชาติของมนุษย์ ที่เกิดขึ้นเมื่อต้องเผชิญกับปัญหา การเปลี่ยนแปลง หรือสถานการณ์ต่างๆ ความเครียดที่เหมาะสม(eustress)จะกระตุ้นให้เกิดการปรับตัวแก้ไขปัญหา เกิดการพัฒนาและสร้างสรรค์ แต่ความเครียดที่มากเกินไปเป็นผลเสียต่อร่างกาย และจิตใจ   เกิดความไม่สบายใจ(distress) ทำให้เกิดอาการต่างๆ  ทำให้ปรับตัวไม่ได้ 

สร้างโดย: 
jun

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 260 คน กำลังออนไลน์