• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c4b25f4c0c73c0bfdf85c427bab1fde8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u18717/a03.gif\" height=\"118\" width=\"591\" /> <span style=\"color: #0000ff\"><b> </b>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<b><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ดาวหาง</span></span> </span></b>\n</div>\n<div>\n<b><br />\n<span style=\"color: #99cc00\"></span></b>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #99cc00\">แหล่งกำเนิดของดาวหาง เชื่อกันว่าเป็นวัตถุที่เหลือจากการสร้างระบบสุริยะเป็นคล้ายบริวารรอบนอกของระบบ ตามปกติจะมีดาวหางจำนวนหนึ่งโคจรเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์แล้วกลับคืนออกไปขอบนอกของระบบสุริยะ แต่มีบางดวงที่โคจรอยู่ภายในระบบสุริยะ ส่วนประกอบของดาวหาง เมื่อดาวหางโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากๆ จะมี<br />\nลมสุริยะ ทำให้ก๊าซแตกตัวเป็นไออนถูกผลักดันไปในทางตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์หางของมันจะมีความยาว <br />\nมากเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์และจะชี้ออกจากดวงอาทิตย์เสมอ </span></span>\n</div>\n<div>\n<b><br />\n<span style=\"color: #99cc00\"></span></b>\n</div>\n<p></p></span>\n</div>\n<p><b></b></p>\n<div>\n<span style=\"color: #99cc00\"><br />\n</span>\n</div>\n<p></p>\n<div>\n<span style=\"color: #99cc00\">ส่วนหัวของดาวหางจะเป็นก้อนน้ำแข็ง ก๊าซแข็งสกปรกและฝุ่นละออง<br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #99cc00\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #99cc00\">ส่วนหาง มี 2 ประเภท คือ หางฝุ่นมักมีสีเหลืองสั้นและมักจะโค้ง หางไอออนหรือหางพลาสมา <br />\nมักมีสีน้ำเงินและเหยียดตรง ดาวหางบางดวงมีหางอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว <br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #99cc00\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #99cc00\">แต่บางดวงก็มีทั้ง 2 ประเภท<br />\nดาวหางทุกดวงมีกลุ่มก๊าซไฮโดรเจนห่อหุ้มอยู่<br />\nการโคจรของดาวหางและการค้นพบ ส่วนมากโคจรเป็นรูปวงรี อาจตามเข็มหรือทวนเข็มนาฬิกาก็ได้ ปีหนึ่งๆ จะมีดาวหางเข้าใกล้ดวงอาทิตย์แล้วสามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องโทรทรรศน์ประมาณ <br />\n6-7 ดวง<br />\nการเรียกชื่อดาวหาง เรียกชื่อตามปีคริสตศักราชตามด้วยอักษรอังกฤษตัวเล็ก<br />\nตั้งชื่อตามผู้ต้นพบบางครั้งตั้งชื่อตามผู้ทำการคำนวณ </span>\n</div>\n<p>\n<a href=\"/node/41755\"><b></b></a><b><span style=\"color: #99cc00\"> </span></b><a href=\"/node/44555\"><b></b></a><b><span style=\"color: #99cc00\"> </span></b>\n</p>\n<div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u18717/29.jpg\" height=\"266\" width=\"398\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nhttp://www.rmutphysics.com/charud/OLDNEWS/84/chemistry/pic_14aug.jpg \n</div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<p>\n<a href=\"/node/41755\"><b><img src=\"/files/u18717/home_copy.jpg\" height=\"70\" width=\"70\" /></b></a><b> </b><a href=\"/node/44555\"><b><img src=\"/files/u18717/_copy_2.gif\" height=\"70\" width=\"70\" /></b></a><b> </b>\n</p>\n', created = 1729629642, expire = 1729716042, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c4b25f4c0c73c0bfdf85c427bab1fde8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาวหาง

 
ดาวหาง

แหล่งกำเนิดของดาวหาง เชื่อกันว่าเป็นวัตถุที่เหลือจากการสร้างระบบสุริยะเป็นคล้ายบริวารรอบนอกของระบบ ตามปกติจะมีดาวหางจำนวนหนึ่งโคจรเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์แล้วกลับคืนออกไปขอบนอกของระบบสุริยะ แต่มีบางดวงที่โคจรอยู่ภายในระบบสุริยะ ส่วนประกอบของดาวหาง เมื่อดาวหางโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากๆ จะมี
ลมสุริยะ ทำให้ก๊าซแตกตัวเป็นไออนถูกผลักดันไปในทางตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์หางของมันจะมีความยาว
มากเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์และจะชี้ออกจากดวงอาทิตย์เสมอ


ส่วนหัวของดาวหางจะเป็นก้อนน้ำแข็ง ก๊าซแข็งสกปรกและฝุ่นละออง
ส่วนหาง มี 2 ประเภท คือ หางฝุ่นมักมีสีเหลืองสั้นและมักจะโค้ง หางไอออนหรือหางพลาสมา
มักมีสีน้ำเงินและเหยียดตรง ดาวหางบางดวงมีหางอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว
แต่บางดวงก็มีทั้ง 2 ประเภท
ดาวหางทุกดวงมีกลุ่มก๊าซไฮโดรเจนห่อหุ้มอยู่
การโคจรของดาวหางและการค้นพบ ส่วนมากโคจรเป็นรูปวงรี อาจตามเข็มหรือทวนเข็มนาฬิกาก็ได้ ปีหนึ่งๆ จะมีดาวหางเข้าใกล้ดวงอาทิตย์แล้วสามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องโทรทรรศน์ประมาณ
6-7 ดวง
การเรียกชื่อดาวหาง เรียกชื่อตามปีคริสตศักราชตามด้วยอักษรอังกฤษตัวเล็ก
ตั้งชื่อตามผู้ต้นพบบางครั้งตั้งชื่อตามผู้ทำการคำนวณ

 

http://www.rmutphysics.com/charud/OLDNEWS/84/chemistry/pic_14aug.jpg 

สร้างโดย: 
อาจารย์สุกัญญา เพ็ชรประดับ และ นางสาว วิชุตา ธรรมยุทธสกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 475 คน กำลังออนไลน์