• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0235ac275c8cf50b328c516afbd56398' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #993366\"></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u18717/a03.gif\" height=\"118\" width=\"591\" /> <b><span style=\"color: #0000ff\"> </span>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">  <span style=\"color: #3366ff\"><b><span style=\"color: #993366\">ดาวเคราะห์ ในระบบสุริยะ</span></b></span></span><span style=\"color: #993366\"> </span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u18717/28.jpg\" height=\"300\" width=\"221\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p></p></b>\n<div align=\"center\">\nhttp://www.bantan.ac.th/blog/wp-content/uploads/2009/06/4561.jpg \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"color: #993366\">ดาวเคราะห์ (ในภาษากรีก ใช้คำว่า planetes หรือ &quot;ผู้พเนจร&quot;) คือ วัตถุขนาดใหญ่ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ ก่อนทศวรรษ 1990 มีดาวเคราะห์ที่เรารู้จักเพียง 9 ดวง (ปัจจุบัน 8 ดวง) ทั้งหมดอยู่ในระบบสุริยะ ปัจจุบันเรารู้จักดาวเคราะห์ใหม่อีกมากกว่า 100 ดวง ซึ่งเป็นดาวเคราะห์นอกระบบ หมายถึง โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงอื่นที่ไม่ใช่ดวงอาทิตย์\n<p>ทฤษฎีที่ได้เป็นที่ยอมรับกันมากที่สุดในปัจจุบันกล่าวไว้ว่า ดาวเคราะห์ก่อตัวขึ้นมาจากการยุบตัวลงของกลุ่มฝุ่นและแก๊ส พร้อมๆ กับการก่อกำเนิดดวงอาทิตย์ที่ตรงใจกลาง ดาวเคราะห์นั้นไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ที่เราสามารถมองเห็นได้เนื่องจากพื้นผิวสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ที่อยู่ในระบบสุริยะมีดาวบริวารโคจรรอบ ยกเว้นดาวพุธและดาวศุกร์ และเราสามารถพบระบบวงแหวนได้ในดาวเคราะห์ขนาดใหญ่อย่างเช่นดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน แต่มีเพียงดาวเสาร์เท่านั้นที่เราสามารถมองเห็นวงแหวนได้ชัดเจนโดยใช้กล้องโทรทรรศน์</p>\n<p>นิยามของดาวเคราะห์<br />\nเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ที่ประชุมสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก ซึ่งประกอบด้วยนักดาราศาสตร์กว่า 2,500 คนจาก 75 ประเทศทั่วโลก ได้มีมติร่วมกันในการกำหนดนิยามใหม่ของดาวเคราะห์ ดังนี้ <br />\n- ไม่ใช่ดาวฤกษ์ <br />\n- ไม่ใช่ดวงจันทร์บริวาร <br />\n- มีแรงดึงดูดมากพอ ที่จะทำให้โครงสร้างของดาวเป็นทรงกลม <br />\n- เป็นดาวที่โคจรรอบดาวฤกษ์ ซึ่งในที่นี้หมายถึงดวงอาทิตย์ <br />\n- มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอย่างน้อย 500 ไมล์ (804.63 กิโลเมตร) <br />\nนิยามใหม่ของดาวเคราะห์นี้ส่งผลให้ ดาวพลูโต ถูกปลดออกจากการเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ คงเหลือดาวเคราะห์เพียง 8 ดวง เนื่องจากดาวพลูโตไม่สามารถควบคุมแรงดึงดูดและวงโคจรของสิ่งต่างๆ ที่อยู่นอกระบบสุริยะ และให้ถือว่าดาวพลูโตเป็น ดาวเคราะห์แคระ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ<br />\nรายชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ<br />\n(เรียงตามระยะห่างจากดวงอาทิตย์)<br />\n&gt; ดาวพุธ <br />\n&gt; ดาวศุกร์<br />\n&gt; โลก<br />\n&gt; ดาวอังคาร<br />\n&gt; ดาวพฤหัสบดี<br />\n&gt; ดาวเสาร์<br />\n&gt; ดาวยูเรนัส<br />\n&gt; ดาวเนปจูน </p></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #993366\"></span>\n</div>\n<p>\n<a href=\"/node/41755\"> </a> \n</p>\n<p><b></b></p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n</p></div>\n<p><a href=\"/node/41755\"><img src=\"/files/u18717/home_copy.jpg\" height=\"70\" width=\"70\" /></a> <a href=\"/node/44555\"><img src=\"/files/u18717/_copy_2.gif\" height=\"70\" width=\"70\" /></a> </p>\n', created = 1729629628, expire = 1729716028, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0235ac275c8cf50b328c516afbd56398' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาวเคราะห์ ในระบบสุริยะ

 

  ดาวเคราะห์ ในระบบสุริยะ

http://www.bantan.ac.th/blog/wp-content/uploads/2009/06/4561.jpg 

ดาวเคราะห์ (ในภาษากรีก ใช้คำว่า planetes หรือ "ผู้พเนจร") คือ วัตถุขนาดใหญ่ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ ก่อนทศวรรษ 1990 มีดาวเคราะห์ที่เรารู้จักเพียง 9 ดวง (ปัจจุบัน 8 ดวง) ทั้งหมดอยู่ในระบบสุริยะ ปัจจุบันเรารู้จักดาวเคราะห์ใหม่อีกมากกว่า 100 ดวง ซึ่งเป็นดาวเคราะห์นอกระบบ หมายถึง โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงอื่นที่ไม่ใช่ดวงอาทิตย์

ทฤษฎีที่ได้เป็นที่ยอมรับกันมากที่สุดในปัจจุบันกล่าวไว้ว่า ดาวเคราะห์ก่อตัวขึ้นมาจากการยุบตัวลงของกลุ่มฝุ่นและแก๊ส พร้อมๆ กับการก่อกำเนิดดวงอาทิตย์ที่ตรงใจกลาง ดาวเคราะห์นั้นไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ที่เราสามารถมองเห็นได้เนื่องจากพื้นผิวสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ที่อยู่ในระบบสุริยะมีดาวบริวารโคจรรอบ ยกเว้นดาวพุธและดาวศุกร์ และเราสามารถพบระบบวงแหวนได้ในดาวเคราะห์ขนาดใหญ่อย่างเช่นดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน แต่มีเพียงดาวเสาร์เท่านั้นที่เราสามารถมองเห็นวงแหวนได้ชัดเจนโดยใช้กล้องโทรทรรศน์

นิยามของดาวเคราะห์
เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ที่ประชุมสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก ซึ่งประกอบด้วยนักดาราศาสตร์กว่า 2,500 คนจาก 75 ประเทศทั่วโลก ได้มีมติร่วมกันในการกำหนดนิยามใหม่ของดาวเคราะห์ ดังนี้
- ไม่ใช่ดาวฤกษ์
- ไม่ใช่ดวงจันทร์บริวาร
- มีแรงดึงดูดมากพอ ที่จะทำให้โครงสร้างของดาวเป็นทรงกลม
- เป็นดาวที่โคจรรอบดาวฤกษ์ ซึ่งในที่นี้หมายถึงดวงอาทิตย์
- มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอย่างน้อย 500 ไมล์ (804.63 กิโลเมตร)
นิยามใหม่ของดาวเคราะห์นี้ส่งผลให้ ดาวพลูโต ถูกปลดออกจากการเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ คงเหลือดาวเคราะห์เพียง 8 ดวง เนื่องจากดาวพลูโตไม่สามารถควบคุมแรงดึงดูดและวงโคจรของสิ่งต่างๆ ที่อยู่นอกระบบสุริยะ และให้ถือว่าดาวพลูโตเป็น ดาวเคราะห์แคระ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ
รายชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
(เรียงตามระยะห่างจากดวงอาทิตย์)
> ดาวพุธ
> ดาวศุกร์
> โลก
> ดาวอังคาร
> ดาวพฤหัสบดี
> ดาวเสาร์
> ดาวยูเรนัส
> ดาวเนปจูน

  

 

สร้างโดย: 
onesอาจารย์สุกัญญา เพ็ชรประดับ และ นางสาว วิชุตา ธรรมยุทธสกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 474 คน กำลังออนไลน์