• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:320e3f3520997485c7d6c019a14636fa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u18717/a03.gif\" height=\"118\" width=\"591\" /> <span style=\"color: #0000ff\"><strong> </strong></span>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #0000ff\">จุดบนดวงอาทิตย์</span></span> </span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<img src=\"/files/u18717/21.jpg\" height=\"285\" width=\"300\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\nhttp://61.7.158.13/kan_cai1/sci/sec4/earth/cai/Solar%20System/sollar/1ดวงอาทิตย์_files/sunspot3.jpg \n</div>\n<p><span style=\"color: #3366ff\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\">จุดบนดวงอาทิตย์เกิดขึ้นที่ชั้นโฟโตสเฟียร์ บริเวณจุดมีเส้นแรงแม่เหล็กหนาแน่น เพราะความร้อน ที่ส่งออกมาจากตัวดวงถูกสนามแม่เหล็กความเข้มสูงหน่วงไว้ รบกวนการหมุนเวียนและการส่ง พลังงานของมวลสารภายในตัวดวงและทำให้เกิดการ ระเบิดลุกจ้า (solar flares) ตามมา ลำก๊าซพุ่งขึ้นเป็นทางยาว เรียกว่า ฟิลาเมนท์ (filaments) บางครั้งเรามองเห็นที่ขอบดวงเป็นลำก๊าซ ขนาดใหญ่พุ่งขึ้นและโค้งตกกลับลงสู่ผิวดวง เรียกว่า พวยก๊าซ (prominences)<br />\nพบความสัมพันธ์ระหว่างจุดกับการระเบิดลุกจ้า เมื่อมีจุดเกิดขึ้นมากก็เกิดการระเบิดลุกจ้าบ่อย การระเบิดสาดกระแสธารอนุภาคประจุไฟฟ้าพลังสูงแผ่ออกไปในระบบสุริยะ เกิดเป็น ลมสุริยะ <br />\n(solar wind) เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงและเดินทางมาถึงโลกในเวลา 3 - 4 วัน ลมสุริยะเป็น อันตรายต่อชีวิตบนโลก โชคดีที่โลกมีบรรยากาศห่อหุ้มและยังมีสนามแม่เหล็กเป็นเกราะป้องกันภัย<br />\nไม่ให้อนุภาคเหล่านั้นผ่านลงสู่ผิวโลกได้ เมื่อลมสุริยะปะทะกับสนามแม่เหล็กโลก ทำให้สนาม แม่เหล็กโลกแปรปรวน และเนื่องจากเส้นแรงแม่เหล็กโลกพุ่งเข้าและพุ่งออกจากขั้วโลกเหนือ และขั้วโลกใต้ในแนวดิ่ง ดังนั้น อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจากลมสุริยะจึงเคลื่อนที่ควงสว่านรอบ เส้นแรงแม่เหล็กโลก วิ่งเข้าสู่บรรยากาศโลกทางขั้วเหนือหรือขั้วใต้ แต่ไม่สามารถผ่านเข้ามาใน แนวเส้นศูนย์สูตร นอกจากอนุภาคที่มีพลังงานสูงมากเท่านั้น<br />\n</span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"left\">\n<a href=\"/node/41755\"><span style=\"color: #000000\"><img src=\"/files/u18717/home_copy.jpg\" height=\"70\" width=\"70\" /></span></a><span style=\"color: #000000\"> </span><a href=\"/node/44555\"><span style=\"color: #000000\"><img src=\"/files/u18717/_copy_2.gif\" height=\"70\" width=\"70\" /></span></a><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #3366ff\">อิทธิพลของลมสุริยะต่อโลก</span></span></span> </span></strong></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #000000\"><img src=\"/files/u18717/22.jpg\" height=\"200\" width=\"300\" /> </span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #000000\">http://mblog.manager.co.th/uploads/1305/images/sidespot_hinode_big.jpg  </span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><br />\n<span style=\"color: #000000\"></span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #000000\"><img src=\"/files/u18717/23.jpg\" height=\"238\" width=\"280\" /> </span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\">http://www.marinerthai.com/sara/pics/Star008.jpg  </span>\n</div>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\">จากการศึกษาดวงอาทิตย์ต่อเนื่องมานานกว่า 250 ปี พบว่าปริมาณ จุดบนดวงอาทิตย์มีการเพิ่มขึ้นและลดลงเป็นคาบทุกรอบ 11 ปี ในช่วงปี พ.ศ.2543-2544 เป็นช่วงที่เกิดจุดบนดวงอาทิตย์เพิ่มขึ้นนับเป็นคาบที่ 23 เมื่อเกิดการระเบิดลุกจ้าขึ้น ดวงอาทิตย์แผ่ลมสุริยะมายังโลกรุนแรง อาจมีผลกระทบกระเทือนต่อบรรยากาศโลก ดาวเทียมและยานอวกาศที่โคจรรอบโลก ตลอดจนระบบสื่อสารและระบบไฟฟ้าบนพื้นโลกได้  <br />\nผลกระทบต่อโลกด้านต่าง ๆ<br />\nอนุภาคประจุไฟฟ้าจำนวนมากที่วิ่งควงสว่านรอบเส้นแรงแม่เหล็กโลกลงมาทางขั้วเหนือหรือขั้วใต้ ทำให้บรรยากาศชั้นบนของโลกปั่นป่วน และทำให้สนามแม่เหล็กโลกแปรปรวนไป<br />\nการสื่อสารด้วยสัญญาณวิทยุบนโลกอาศัยบรรยากาศระดับไอโอโนสเฟียร์<br />\nทำหน้าที่คล้ายเพดานสะท้อนสัญญาณวิทยุคลื่นสั้นกลับลงมายังโลก เมื่อบรรยากาศชั้นนี้ปั่นป่วน คลื่นวิทยุที่ส่งออกไปไม่ถูกสะท้อนกลับ จึงทำให้การรับคลื่นวิทยุคลื่นสั้นบนโลกขัดข้องไปด้วย โดยปกติเป็นระยะนาน 1 - 20 นาที ต่อครั้ง <br />\nลมสุริยะที่ผ่านเข้ามาทำปฏิกิริยากับโมเลกุลของก๊าซในบรรยากาศชั้นบนของโลก ทำให้อุณหภูมิ ของบรรยากาศอุ่นขึ้นและพองตัวจนอาจไปดึงดาวเทียมหรือยานอวกาศในระดับสูงให้ลดต่ำลงได้ บางครั้งจึงจำเป็นต้องจุดจรวดขับดันผลักดาวเทียมสูงขึ้นไปในระดับที่ต้องการ วิศวกรผู้ดูแล จึงต้องควบคุมและจัดการให้ดาวเทียมอยู่ในสภาพเตรียมพร้อม เพื่อป้องกันความเสียหาย ที่จะเกิดขึ้น แต่ปกติแล้ว การสร้างดาวเทียมและยานอวกาศได้วางแผนป้องกันเรื่องเหล่านี้ไว้ ก่อนแล้ว<br />\nปริมาณอนุภาคประจุไฟฟ้าที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว อาจกระทบกระเทือนต่อการทำงานของ วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ภายในดาวเทียมและยานอวกาศ ตลอดจนอาจเพิ่มแรงดันในระบบ ไฟฟ้าบนโลกให้ชำรุดเสียหาย หรือเกิดไฟฟ้าลัดวงจรขึ้นได้ </span></span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/41755\"><strong><span style=\"color: #000000\"><img src=\"/files/u18717/home_copy.jpg\" align=\"left\" height=\"70\" width=\"70\" /></span></strong></a><strong><span style=\"color: #000000\"> </span></strong><a href=\"/node/44555\"><strong><span style=\"color: #000000\"><img src=\"/files/u18717/_copy_2.gif\" align=\"left\" height=\"70\" width=\"70\" /></span></strong></a><strong><span style=\"color: #000000\"> </span></strong>\n</p>\n</div>\n', created = 1729633766, expire = 1729720166, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:320e3f3520997485c7d6c019a14636fa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a41e1232d00738f9a8940a6f5847de68' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #3366ff\">อิทธิพลของลมสุริยะต่อโลก</span></span></span> </span></strong></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #000000\"><img src=\"/files/u18717/22.jpg\" height=\"200\" width=\"300\" /> </span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #000000\">http://mblog.manager.co.th/uploads/1305/images/sidespot_hinode_big.jpg  </span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><br />\n<span style=\"color: #000000\"></span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #000000\"><img src=\"/files/u18717/23.jpg\" height=\"238\" width=\"280\" /> </span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\">http://www.marinerthai.com/sara/pics/Star008.jpg  </span>\n</div>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\">จากการศึกษาดวงอาทิตย์ต่อเนื่องมานานกว่า 250 ปี พบว่าปริมาณ จุดบนดวงอาทิตย์มีการเพิ่มขึ้นและลดลงเป็นคาบทุกรอบ 11 ปี ในช่วงปี พ.ศ.2543-2544 เป็นช่วงที่เกิดจุดบนดวงอาทิตย์เพิ่มขึ้นนับเป็นคาบที่ 23 เมื่อเกิดการระเบิดลุกจ้าขึ้น ดวงอาทิตย์แผ่ลมสุริยะมายังโลกรุนแรง อาจมีผลกระทบกระเทือนต่อบรรยากาศโลก ดาวเทียมและยานอวกาศที่โคจรรอบโลก ตลอดจนระบบสื่อสารและระบบไฟฟ้าบนพื้นโลกได้  <br />\nผลกระทบต่อโลกด้านต่าง ๆ<br />\nอนุภาคประจุไฟฟ้าจำนวนมากที่วิ่งควงสว่านรอบเส้นแรงแม่เหล็กโลกลงมาทางขั้วเหนือหรือขั้วใต้ ทำให้บรรยากาศชั้นบนของโลกปั่นป่วน และทำให้สนามแม่เหล็กโลกแปรปรวนไป<br />\nการสื่อสารด้วยสัญญาณวิทยุบนโลกอาศัยบรรยากาศระดับไอโอโนสเฟียร์<br />\nทำหน้าที่คล้ายเพดานสะท้อนสัญญาณวิทยุคลื่นสั้นกลับลงมายังโลก เมื่อบรรยากาศชั้นนี้ปั่นป่วน คลื่นวิทยุที่ส่งออกไปไม่ถูกสะท้อนกลับ จึงทำให้การรับคลื่นวิทยุคลื่นสั้นบนโลกขัดข้องไปด้วย โดยปกติเป็นระยะนาน 1 - 20 นาที ต่อครั้ง <br />\nลมสุริยะที่ผ่านเข้ามาทำปฏิกิริยากับโมเลกุลของก๊าซในบรรยากาศชั้นบนของโลก ทำให้อุณหภูมิ ของบรรยากาศอุ่นขึ้นและพองตัวจนอาจไปดึงดาวเทียมหรือยานอวกาศในระดับสูงให้ลดต่ำลงได้ บางครั้งจึงจำเป็นต้องจุดจรวดขับดันผลักดาวเทียมสูงขึ้นไปในระดับที่ต้องการ วิศวกรผู้ดูแล จึงต้องควบคุมและจัดการให้ดาวเทียมอยู่ในสภาพเตรียมพร้อม เพื่อป้องกันความเสียหาย ที่จะเกิดขึ้น แต่ปกติแล้ว การสร้างดาวเทียมและยานอวกาศได้วางแผนป้องกันเรื่องเหล่านี้ไว้ ก่อนแล้ว<br />\nปริมาณอนุภาคประจุไฟฟ้าที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว อาจกระทบกระเทือนต่อการทำงานของ วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ภายในดาวเทียมและยานอวกาศ ตลอดจนอาจเพิ่มแรงดันในระบบ ไฟฟ้าบนโลกให้ชำรุดเสียหาย หรือเกิดไฟฟ้าลัดวงจรขึ้นได้ </span></span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/41755\"><strong><span style=\"color: #000000\"><img src=\"/files/u18717/home_copy.jpg\" align=\"left\" height=\"70\" width=\"70\" /></span></strong></a><strong><span style=\"color: #000000\"> </span></strong><a href=\"/node/44555\"><strong><span style=\"color: #000000\"><img src=\"/files/u18717/_copy_2.gif\" align=\"left\" height=\"70\" width=\"70\" /></span></strong></a><strong><span style=\"color: #000000\"> </span></strong>\n</p>\n\n', created = 1729633766, expire = 1729720166, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a41e1232d00738f9a8940a6f5847de68' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

จุดบนดวงอาทิตย์กับลมสุริยะ

อิทธิพลของลมสุริยะต่อโลก

 

http://mblog.manager.co.th/uploads/1305/images/sidespot_hinode_big.jpg 

http://www.marinerthai.com/sara/pics/Star008.jpg 

จากการศึกษาดวงอาทิตย์ต่อเนื่องมานานกว่า 250 ปี พบว่าปริมาณ จุดบนดวงอาทิตย์มีการเพิ่มขึ้นและลดลงเป็นคาบทุกรอบ 11 ปี ในช่วงปี พ.ศ.2543-2544 เป็นช่วงที่เกิดจุดบนดวงอาทิตย์เพิ่มขึ้นนับเป็นคาบที่ 23 เมื่อเกิดการระเบิดลุกจ้าขึ้น ดวงอาทิตย์แผ่ลมสุริยะมายังโลกรุนแรง อาจมีผลกระทบกระเทือนต่อบรรยากาศโลก ดาวเทียมและยานอวกาศที่โคจรรอบโลก ตลอดจนระบบสื่อสารและระบบไฟฟ้าบนพื้นโลกได้  
ผลกระทบต่อโลกด้านต่าง ๆ
อนุภาคประจุไฟฟ้าจำนวนมากที่วิ่งควงสว่านรอบเส้นแรงแม่เหล็กโลกลงมาทางขั้วเหนือหรือขั้วใต้ ทำให้บรรยากาศชั้นบนของโลกปั่นป่วน และทำให้สนามแม่เหล็กโลกแปรปรวนไป
การสื่อสารด้วยสัญญาณวิทยุบนโลกอาศัยบรรยากาศระดับไอโอโนสเฟียร์
ทำหน้าที่คล้ายเพดานสะท้อนสัญญาณวิทยุคลื่นสั้นกลับลงมายังโลก เมื่อบรรยากาศชั้นนี้ปั่นป่วน คลื่นวิทยุที่ส่งออกไปไม่ถูกสะท้อนกลับ จึงทำให้การรับคลื่นวิทยุคลื่นสั้นบนโลกขัดข้องไปด้วย โดยปกติเป็นระยะนาน 1 - 20 นาที ต่อครั้ง
ลมสุริยะที่ผ่านเข้ามาทำปฏิกิริยากับโมเลกุลของก๊าซในบรรยากาศชั้นบนของโลก ทำให้อุณหภูมิ ของบรรยากาศอุ่นขึ้นและพองตัวจนอาจไปดึงดาวเทียมหรือยานอวกาศในระดับสูงให้ลดต่ำลงได้ บางครั้งจึงจำเป็นต้องจุดจรวดขับดันผลักดาวเทียมสูงขึ้นไปในระดับที่ต้องการ วิศวกรผู้ดูแล จึงต้องควบคุมและจัดการให้ดาวเทียมอยู่ในสภาพเตรียมพร้อม เพื่อป้องกันความเสียหาย ที่จะเกิดขึ้น แต่ปกติแล้ว การสร้างดาวเทียมและยานอวกาศได้วางแผนป้องกันเรื่องเหล่านี้ไว้ ก่อนแล้ว
ปริมาณอนุภาคประจุไฟฟ้าที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว อาจกระทบกระเทือนต่อการทำงานของ วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ภายในดาวเทียมและยานอวกาศ ตลอดจนอาจเพิ่มแรงดันในระบบ ไฟฟ้าบนโลกให้ชำรุดเสียหาย หรือเกิดไฟฟ้าลัดวงจรขึ้นได้

สร้างโดย: 
อาจารย์สุกัญญา เพ็ชรประดับ และ นางสาว วิชุตา ธรรมยุทธสกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 426 คน กำลังออนไลน์