• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9ee6049428c32226f483c582dd5fcb98' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u18717/a02.gif\" height=\"118\" width=\"591\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><b>  <span style=\"color: #ff6600\">การวิวัฒนาการของดาวฤกษ์</span></b></span><span style=\"color: #ff6600\">  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">เนบิวลาเป็นแหล่งกำเนิดของดาวฤกษ์ทุกประเภท แต่จุดบนดาวฤกษ์จะต่างกันขึ้นอยู่กับมวลสาร ดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อย เช่น ดวงอาทิตย์มีแสงสว่างไม่มาก จะใช้เชื้อเพลิงในอัตราที่น้อย จึงมีช่วงชีวิตยาวและจบชีวิตด้วยการไม่ระเบิด ดาวฤกษ์ที่มวลขนาดใหญ่ สว่างมาก จะใช้เชื้อเพลิงอย่างสิ้นเปลืองในอัตราสูงมากจึงมีช่วงชีวิตที่สั้นกว่า และจบชีวิตด้วยการระเบิดอย่างรุนแรง จุดจบของดาวฤกษ์ที่มีมวลมากคือการระเบิดอย่างรุนแรงที่เรียกว่า ซูเปอร์โนวา (Supernova) แรงโน้มถ่วงจะทำให้ดาวยุบตัวลง กลายเป็นดาวนิวตรอน หรือหลุมดำ ในขณะเดียวกันนั้นก็มีแรงสะท้อนที่ทำให้ส่วนภายนอกของดาวระเบิด เกิดธาตุหนักขึ้น เช่น ทองคำ ยูเรเนียม ฯลฯ ซึ่งถูกสาดกระจายออกสู่อวกาศกลายเป็นส่วนประกอบของเนบิวลารุ่นใหม่ต่อไป </span></p>\n<p>กำนิดและวิวัฒนาการของดวงอาทิตย์ พลังงานของดวงอาทิตย์เกิดที่แก่นกลางซึ่งเป็นชั้นในสุดของดวงอาทิตย์ เป็นบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงและความดันสูง ทำให้เกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ที่แก่นกลางดวงอาทิตย์ซึ่งเกิดจาก โปรตอนหรือนิวเคลียสของธาตุไอโดรเจน 4 นิวเคลียส หลอมไปเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม 1 นิวเคลียส พร้อมกับเกิดพลังงานจำนวนมหาศาล <br />\nดาวฤกษ์จะแบ่งวิวัฒนาการตามมวลของมัน คือ มวลน้อย กับ มวลมาก<br />\nมวลน้อย---&gt;ดาวฤกษ์----&gt;ดาวยักษ์แดง----&gt;หดตัว----&gt;ดาวแคระขาว---&gt;ดาวแคระดำ(ดวงอาทิตย์)<br />\nมวลมาก---&gt;ดาวฤกษื---&gt;ดาวยักษ์แดง---&gt;ซูเปอร์โนวา---&gt;ดาวนิวตรอน<br />\nสีของอุณหภูมิของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ที่ปรากฎบนฟ้า จะพบว่าดาวฤกษ์มีสีต่างกัน สีของดาวฤกษ์ที่มองเห็น มีความสัมพันธ์ กับอุณหภูมิผิวของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการของดาวฤกษ์<br />\nดาวฤกษ์ที่ปรากฏบนฟ้ามีสีแตกต่างกัน นักดาราศาสตร์จึงแบ่งชนิดของดาวฤกษ์ตามสเปคตรัมของดาวฤกษ์ พบว่าสีของดาวฤกษ์สัมพันธ์กับอุณหภูมิของผิวดาว ดาวฤกษ์แบ่งออกเป็น 7 ชนิดหลัก คือ\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/41755\"><img src=\"/files/u18717/home_copy.jpg\" height=\"70\" width=\"70\" /></a> <a href=\"/node/44545\"><img src=\"/files/u18717/_copy_2.gif\" height=\"70\" width=\"70\" /></a>\n</p>\n', created = 1729625009, expire = 1729711409, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9ee6049428c32226f483c582dd5fcb98' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การวิวัฒนาการของดาวฤกษ์

 

 

  การวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ 

เนบิวลาเป็นแหล่งกำเนิดของดาวฤกษ์ทุกประเภท แต่จุดบนดาวฤกษ์จะต่างกันขึ้นอยู่กับมวลสาร ดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อย เช่น ดวงอาทิตย์มีแสงสว่างไม่มาก จะใช้เชื้อเพลิงในอัตราที่น้อย จึงมีช่วงชีวิตยาวและจบชีวิตด้วยการไม่ระเบิด ดาวฤกษ์ที่มวลขนาดใหญ่ สว่างมาก จะใช้เชื้อเพลิงอย่างสิ้นเปลืองในอัตราสูงมากจึงมีช่วงชีวิตที่สั้นกว่า และจบชีวิตด้วยการระเบิดอย่างรุนแรง จุดจบของดาวฤกษ์ที่มีมวลมากคือการระเบิดอย่างรุนแรงที่เรียกว่า ซูเปอร์โนวา (Supernova) แรงโน้มถ่วงจะทำให้ดาวยุบตัวลง กลายเป็นดาวนิวตรอน หรือหลุมดำ ในขณะเดียวกันนั้นก็มีแรงสะท้อนที่ทำให้ส่วนภายนอกของดาวระเบิด เกิดธาตุหนักขึ้น เช่น ทองคำ ยูเรเนียม ฯลฯ ซึ่งถูกสาดกระจายออกสู่อวกาศกลายเป็นส่วนประกอบของเนบิวลารุ่นใหม่ต่อไป

กำนิดและวิวัฒนาการของดวงอาทิตย์ พลังงานของดวงอาทิตย์เกิดที่แก่นกลางซึ่งเป็นชั้นในสุดของดวงอาทิตย์ เป็นบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงและความดันสูง ทำให้เกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ที่แก่นกลางดวงอาทิตย์ซึ่งเกิดจาก โปรตอนหรือนิวเคลียสของธาตุไอโดรเจน 4 นิวเคลียส หลอมไปเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม 1 นิวเคลียส พร้อมกับเกิดพลังงานจำนวนมหาศาล
ดาวฤกษ์จะแบ่งวิวัฒนาการตามมวลของมัน คือ มวลน้อย กับ มวลมาก
มวลน้อย--->ดาวฤกษ์---->ดาวยักษ์แดง---->หดตัว---->ดาวแคระขาว--->ดาวแคระดำ(ดวงอาทิตย์)
มวลมาก--->ดาวฤกษื--->ดาวยักษ์แดง--->ซูเปอร์โนวา--->ดาวนิวตรอน
สีของอุณหภูมิของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ที่ปรากฎบนฟ้า จะพบว่าดาวฤกษ์มีสีต่างกัน สีของดาวฤกษ์ที่มองเห็น มีความสัมพันธ์ กับอุณหภูมิผิวของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ที่ปรากฏบนฟ้ามีสีแตกต่างกัน นักดาราศาสตร์จึงแบ่งชนิดของดาวฤกษ์ตามสเปคตรัมของดาวฤกษ์ พบว่าสีของดาวฤกษ์สัมพันธ์กับอุณหภูมิของผิวดาว ดาวฤกษ์แบ่งออกเป็น 7 ชนิดหลัก คือ

 

สร้างโดย: 
อาจารย์สุกัญญา เพ็ชรประดับ และ นางสาว วิชุตา ธรรมยุทธสกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 460 คน กำลังออนไลน์