• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:70b3ca5a34dbe4178d03b9d28cabe85a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u18717/a00.gif\" height=\"118\" width=\"591\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #00ccff\">กาแล็กซีแอนโดรมีดา</span></span></span></b>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u18717/13.gif\" height=\"189\" width=\"200\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\nhttp://physics.science.cmu.ac.th/ps/ps6/images/m33.gif \n</div>\n<div align=\"center\">\n\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #00ccff\">กาแล็กซีแอนโดรมีดา เป็นกาแล็กซีรูปเกลียว(Spiral galaxy) คือมีลักษณะกลมแบนเหมือนจานสองใบประกบกัน มีแขนเกลียวยื่นออกมา คล้ายๆกันกับ กาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา แต่ M32 และ M110 มีลักษณะเป็นกาแล็กซีรูปทรงรี(Elliptical galaxy) ปัจจุบันพบว่ากาแล็กซีรูปทรงรีมีจำนวนมากมาย มากกว่า กาแล็กซีรูปเกลียว <br />\nกาแล็กซีแอนโดรมีดา กำลังเข้าใกล้กาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา ด้วยความเร็วประมาณ 500,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คาดว่าจะสัมผัสกัน ในอีก 3พันล้านปีข้างหน้า หากจินตนาการช่วงเวลา ขณะรวมตัวกันคงเป็นดังรูปข้างบน <br />\nในปี 1983 อลัน เดรสเลอร์(Alan Dressler)และ นักดาราศาสตร์กลุ่มนุคเคอร์(Nuker Team) ผู้ศึกษาด้านหลุมดำที่มีมวลสูงมาก (Supermassive Black Holes) มีโครงการที่จะตามหา Supermassive Black Holes ให้พบ พวกเขาคาดว่าจะหาพบได้ใน กาแล็กซีที่มีการ ปล่อยพลังงานสูงออกมาจากแกนกลาง (Quasar) <br />\nแต่เนื่องจากไม่สามารถมองเห็นหลุมดำได้ เขาจึงใช้วิธีวัดความเร็วของดวงดาว ซึ่งกำลังเคลื่อนที่ใกล้ๆกับ แกนกลางของกาแล็กซี ถ้าดวงดาวต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมาก ก็แสดงว่าดวงดาวนั้นถูกดึงด้วย แรงโน้มถ่วงมหาศาล (จาก Supermassive Black Holes) ซึ่งมาจากแกนกลางของกาแล็กซี <br />\nเขาเลือกใช้กาแล็กซี NGC1068 (ซึ่งอยู่ไกลมาก) วัดความเร็วของดวงดาวใกล้ๆกับ แกนกลาง เทียบกับดวงดาวในกาแล็กซีที่ดูธรรมดาๆ อย่างกาแล็กซีแอนโดรมีดา ผลปรากฎว่า NGC1068 อยู่ไกลเกินไป เกินกว่าจะวัดวัดความเร็วของดวงดาวบริเวณแกนกลางได้ แต่สิ่งที่น่าแปลกใจกลับมาจากกาแล็กซีแอนโดรมีดา ดวงดาวบริเวณใกล้แกนกลางของกาแล็กซีแอนโดรมีดา เคลื่อนที่ด้วยความเร็วถึง 500,000km/hr แสดงว่าน่าจะมี แรงโน้มถ่วงมหาศาล มาจาก Supermassive Black Holes ในแกนกลางของ กาแล็กซีแอนโดรมีดา <br />\nปัจจุบันพบปรากฎการณ์คล้ายๆกัน ในการศึกษา กาแล็กซีอื่นๆอีกหลายๆกาแล็กซี (รวมทั้งกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา) แสดงว่า น่าจะมี Supermassive Black Holes อยู่ในแกนกลางของหลายๆกาแล็กซี <br />\nภาพถ่ายจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา แสดงให้เราเห็นถึงแหล่งกำเนิดรังสีเอ็กซ์ อยู่ในใจกลางกาแล็กซีแอนโดรมีดา รังสีเอ็กซ์นี้เกิดขึ้นขณะมีมวลสารเข้าสู่หลุมดำ แกนกลางของกาแล็กซีแอนโดรมีดามีลักษณะเป็น กลุ่มของดวงดาวสว่างไสว รวมตัวกันหนาแน่นคล้ายเมฆ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมาก รอบหลุมดำ(Blackhole - มีมวลประมาณ 30ล้านเท่าของดวงอาทิตย์) ที่อยู่ใจกลางของกาแล็กซี <br />\nกาแล็กซีแอนโดรมีดาอยู่ในกลุ่มดาวแอนโดรมีดา หากต้องการมองเห็นลักษณะ เป็นฝ้าขาวที่ชัดเจนขึ้น อาจต้องใช้กล้องส่องทางไกล หรือกล้องดูดาวโดยกลุ่มดาวแอนโดรมีดา จะอยู่สูงที่สุดบนฟ้า เวลาประมาณ สี่ทุ่มในเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน</span>\n</div>\n<p>\n<a href=\"/node/41755\"><img src=\"/files/u18717/home_copy.jpg\" height=\"70\" width=\"70\" /></a> <a href=\"/node/45108\"><img src=\"/files/u18717/_copy_2.gif\" height=\"70\" width=\"70\" /></a>\n</p>\n', created = 1729624510, expire = 1729710910, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:70b3ca5a34dbe4178d03b9d28cabe85a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การแล็กซี่เพื่อนบ้าน

กาแล็กซีแอนโดรมีดา
http://physics.science.cmu.ac.th/ps/ps6/images/m33.gif 
กาแล็กซีแอนโดรมีดา เป็นกาแล็กซีรูปเกลียว(Spiral galaxy) คือมีลักษณะกลมแบนเหมือนจานสองใบประกบกัน มีแขนเกลียวยื่นออกมา คล้ายๆกันกับ กาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา แต่ M32 และ M110 มีลักษณะเป็นกาแล็กซีรูปทรงรี(Elliptical galaxy) ปัจจุบันพบว่ากาแล็กซีรูปทรงรีมีจำนวนมากมาย มากกว่า กาแล็กซีรูปเกลียว 
กาแล็กซีแอนโดรมีดา กำลังเข้าใกล้กาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา ด้วยความเร็วประมาณ 500,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คาดว่าจะสัมผัสกัน ในอีก 3พันล้านปีข้างหน้า หากจินตนาการช่วงเวลา ขณะรวมตัวกันคงเป็นดังรูปข้างบน
ในปี 1983 อลัน เดรสเลอร์(Alan Dressler)และ นักดาราศาสตร์กลุ่มนุคเคอร์(Nuker Team) ผู้ศึกษาด้านหลุมดำที่มีมวลสูงมาก (Supermassive Black Holes) มีโครงการที่จะตามหา Supermassive Black Holes ให้พบ พวกเขาคาดว่าจะหาพบได้ใน กาแล็กซีที่มีการ ปล่อยพลังงานสูงออกมาจากแกนกลาง (Quasar)
แต่เนื่องจากไม่สามารถมองเห็นหลุมดำได้ เขาจึงใช้วิธีวัดความเร็วของดวงดาว ซึ่งกำลังเคลื่อนที่ใกล้ๆกับ แกนกลางของกาแล็กซี ถ้าดวงดาวต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมาก ก็แสดงว่าดวงดาวนั้นถูกดึงด้วย แรงโน้มถ่วงมหาศาล (จาก Supermassive Black Holes) ซึ่งมาจากแกนกลางของกาแล็กซี
เขาเลือกใช้กาแล็กซี NGC1068 (ซึ่งอยู่ไกลมาก) วัดความเร็วของดวงดาวใกล้ๆกับ แกนกลาง เทียบกับดวงดาวในกาแล็กซีที่ดูธรรมดาๆ อย่างกาแล็กซีแอนโดรมีดา ผลปรากฎว่า NGC1068 อยู่ไกลเกินไป เกินกว่าจะวัดวัดความเร็วของดวงดาวบริเวณแกนกลางได้ แต่สิ่งที่น่าแปลกใจกลับมาจากกาแล็กซีแอนโดรมีดา ดวงดาวบริเวณใกล้แกนกลางของกาแล็กซีแอนโดรมีดา เคลื่อนที่ด้วยความเร็วถึง 500,000km/hr แสดงว่าน่าจะมี แรงโน้มถ่วงมหาศาล มาจาก Supermassive Black Holes ในแกนกลางของ กาแล็กซีแอนโดรมีดา
ปัจจุบันพบปรากฎการณ์คล้ายๆกัน ในการศึกษา กาแล็กซีอื่นๆอีกหลายๆกาแล็กซี (รวมทั้งกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา) แสดงว่า น่าจะมี Supermassive Black Holes อยู่ในแกนกลางของหลายๆกาแล็กซี
ภาพถ่ายจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา แสดงให้เราเห็นถึงแหล่งกำเนิดรังสีเอ็กซ์ อยู่ในใจกลางกาแล็กซีแอนโดรมีดา รังสีเอ็กซ์นี้เกิดขึ้นขณะมีมวลสารเข้าสู่หลุมดำ แกนกลางของกาแล็กซีแอนโดรมีดามีลักษณะเป็น กลุ่มของดวงดาวสว่างไสว รวมตัวกันหนาแน่นคล้ายเมฆ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมาก รอบหลุมดำ(Blackhole - มีมวลประมาณ 30ล้านเท่าของดวงอาทิตย์) ที่อยู่ใจกลางของกาแล็กซี
กาแล็กซีแอนโดรมีดาอยู่ในกลุ่มดาวแอนโดรมีดา หากต้องการมองเห็นลักษณะ เป็นฝ้าขาวที่ชัดเจนขึ้น อาจต้องใช้กล้องส่องทางไกล หรือกล้องดูดาวโดยกลุ่มดาวแอนโดรมีดา จะอยู่สูงที่สุดบนฟ้า เวลาประมาณ สี่ทุ่มในเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน

สร้างโดย: 
อาจารย์สุกัญญา เพ็ชรประดับ และ นางสาว วิชุตา ธรรมยุทธสกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 456 คน กำลังออนไลน์