• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:62bd5ecd75ebc66565425076182774a1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u18717/a00.gif\" height=\"118\" width=\"591\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #33cccc\"><b><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\">กาแล็กซี  </span></span></b> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #33cccc\">เอกภพมีการขยายตัวมาตั้งแต่ครั้งที่มีกระเบิดครั้งใหญ่ครั้งแรก (original great explosion</span>) สสารที่เกิดขึ้นจากการระเบิดในครั้งนั้นคือ สิ่งที่เป็นหมู่เมฆระหว่างดาว (interstellar clouds) ที่ประกอบด้วยก๊าซและธุลี ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ต่าง ๆ ในปัจจุบันนี้ สสารและเทห์ฟากฟ้าทั้งหมดดังกล่าวไม่ได้กระจายออกไปในห้วงอวกาศโดยสม่ำเสมอเท่ากัน หากแต่ออกไปเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มหนึ่งที่สำคัญที่สุดก็คือ กาแล็กซี่ (galaxy) ซึ่งเป็นที่อยู่ของระบบสุริยะ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u18717/6.jpg\" height=\"276\" width=\"300\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nhttp://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0006/web%20dalasoag/images/pic0000.jpg \n</div>\n<p><span style=\"color: #33cccc\">การแล็กซีประกอบด้วยดาวฤกษ์ กระจุกดาวสสารระหว่างดาว (แก๊สและฝุ่นธุลี) เนบิวลา และที่ว่างในอากาศเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งจะของเลือกนำเสนอเพียงบางตัวอย่าง<br />\nกระจุกดาว คือกลุ่มดาวตั้งแต่สิบดวงไปจนถึงหลายสิบล้านดวง ในกาแล็กซีทางช้างเผือกจะพบกระจุกดาวรอบ ๆ ศูนย์กลางกาแล็กซี เช่น กระจุกดาวลูกไก่ถ้ามองด้วยตาเปล่าจะมองเห็นดาวฤกษ์ประมาณ 7 ดวง <br />\nสสารระหว่างดาว ดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่ห่างไกลกันมาก ระหว่างดวงดาวจึงมีสสารระหว่างดาว ซึ่งประกอบด้วยแก๊ส (ส่วนใหญ่เป็นไฮโดรเจน) ฝุ่นธุลีชิ้นส่วนของสะเก็ดดาวแทรกคั่นอยู่ <br />\nเนบิวลา กลุ่มเมฆหมอกของแก๊สและฝุ่นธุลีของสสารในอากาศ ที่อยู่ระหว่างดวงดาวในกาแล็กซ๊ มี 3 ชนิด <br />\n- เนบิวลาสว่าง เป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นธุลีที่สะท้อนแสงสว่างที่ส่องมาจากดาวฤกษ์<br />\n- เนบิวลาเรืองแสง เป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นธุลีระหว่างดวงดาวที่เปล่งแสงออกมาจากตัวเอง ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของอนุภาคโปรตรอนนิวตรอนเป็นอะตอมไฮโดรเจน<br />\n- เนบิวลา เป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นธุลีจำนวนมากและหนาทึบ ซึ่งดูดกลืนแสงของดาวฤกษ์ที่ส่องมา</span></p>\n<p></p>\n<p>\n<a href=\"/node/41755\"><img src=\"/files/u18717/home_copy.jpg\" height=\"70\" width=\"70\" /></a> <a href=\"/node/45108\"><img src=\"/files/u18717/_copy_2.gif\" height=\"70\" width=\"70\" /></a>\n</p>\n', created = 1729638915, expire = 1729725315, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:62bd5ecd75ebc66565425076182774a1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กาแล็กซี่ (GALAXIES)

กาแล็กซี  

เอกภพมีการขยายตัวมาตั้งแต่ครั้งที่มีกระเบิดครั้งใหญ่ครั้งแรก (original great explosion) สสารที่เกิดขึ้นจากการระเบิดในครั้งนั้นคือ สิ่งที่เป็นหมู่เมฆระหว่างดาว (interstellar clouds) ที่ประกอบด้วยก๊าซและธุลี ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ต่าง ๆ ในปัจจุบันนี้ สสารและเทห์ฟากฟ้าทั้งหมดดังกล่าวไม่ได้กระจายออกไปในห้วงอวกาศโดยสม่ำเสมอเท่ากัน หากแต่ออกไปเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มหนึ่งที่สำคัญที่สุดก็คือ กาแล็กซี่ (galaxy) ซึ่งเป็นที่อยู่ของระบบสุริยะ

 

http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0006/web%20dalasoag/images/pic0000.jpg 

การแล็กซีประกอบด้วยดาวฤกษ์ กระจุกดาวสสารระหว่างดาว (แก๊สและฝุ่นธุลี) เนบิวลา และที่ว่างในอากาศเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งจะของเลือกนำเสนอเพียงบางตัวอย่าง
กระจุกดาว คือกลุ่มดาวตั้งแต่สิบดวงไปจนถึงหลายสิบล้านดวง ในกาแล็กซีทางช้างเผือกจะพบกระจุกดาวรอบ ๆ ศูนย์กลางกาแล็กซี เช่น กระจุกดาวลูกไก่ถ้ามองด้วยตาเปล่าจะมองเห็นดาวฤกษ์ประมาณ 7 ดวง
สสารระหว่างดาว ดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่ห่างไกลกันมาก ระหว่างดวงดาวจึงมีสสารระหว่างดาว ซึ่งประกอบด้วยแก๊ส (ส่วนใหญ่เป็นไฮโดรเจน) ฝุ่นธุลีชิ้นส่วนของสะเก็ดดาวแทรกคั่นอยู่
เนบิวลา กลุ่มเมฆหมอกของแก๊สและฝุ่นธุลีของสสารในอากาศ ที่อยู่ระหว่างดวงดาวในกาแล็กซ๊ มี 3 ชนิด
- เนบิวลาสว่าง เป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นธุลีที่สะท้อนแสงสว่างที่ส่องมาจากดาวฤกษ์
- เนบิวลาเรืองแสง เป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นธุลีระหว่างดวงดาวที่เปล่งแสงออกมาจากตัวเอง ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของอนุภาคโปรตรอนนิวตรอนเป็นอะตอมไฮโดรเจน
- เนบิวลา เป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นธุลีจำนวนมากและหนาทึบ ซึ่งดูดกลืนแสงของดาวฤกษ์ที่ส่องมา

สร้างโดย: 
อาจารย์สุกัญญา เพ็ชรประดับ และ นางสาว วิชุตา ธรรมยุทธสกุล
รูปภาพของ sas14465

ดีคับ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 324 คน กำลังออนไลน์