• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:568b762dcef1d5f5df842a7f7b10244b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span id=\".E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B9.80.E0.B8.AB.E0.B8.95.E0.B8.B8\" class=\"mw-headline\"></span><span id=\".E0.B8.AD.E0.B9.89.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B8.AD.E0.B8.B4.E0.B8.87\" class=\"mw-headline\">โรคไข้หวัดใหญ่ อังกฤษ: Influenza) เป็นโรคที่พบได้บ่อยในทุกคนทุกเพศทุกวัย พบได้เกือบทั้งปี แต่จะเป็นมากในช่วงฤดูฝน ซึ่งบางปีอาจจะพบการระบาด พบเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ของอาการไข้ที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน แพทย์มักจะให้การวินิจฉัยผู้ใหญ่ที่มีอาการตัวร้อนมา 2-3 วัน โดยไม่มีอาการอย่างอื่นชัดเจนว่าเป็นไข้หวัดใหญ่ ซึ่งบางครั้งก็อาจพบการผิดพลาดได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> สาเหตุ<br />\nเกิดจากเชื้อไข้หวัดใหญ่ ซึ่งเป็นไวรัสมีชื่อว่า ไวรัสอินฟลูเอนซา ( Influenza virus ) เชื้อนี้จะอยู่ในน้ำมูก น้ำลาย หรือเสมหะของผู้ป่วย ติดต่อโดยการไอ หรือจาม หรือการสัมผัสถูกมือของเครื่องใช้เปื้อนเชื้อโรค ระยะฟักตัว 1-4 วัน เชื้อไข้หวัดใหญ่มีอยู่ 3 ชนิด เรียกว่า ชนิด เอ,บี และซี ซึ่งแต่ละชนิดยังแบ่งเป็นพันธ์ย่อยๆ ไปอีกมากมาย ในการเกิดโรคแต่ละครั้งจะเกิดจากพันธุ์ย่อยๆ เพียงพันธุ์เดียว ซึ่งเป็นแล้วจะมีภูมิคุ้มกันต่อพันธุ์นั้น เชื้อไข้หวัดใหญ่บางพันธุ์ อาจผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันทำให้เกิดการระบาดใหญ่ และมีการเรียกชื่อโรคที่ระบาดแต่ละครั้งตามชื่อของประเทศที่เป็นแหล่งต้นกำเนิด </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">การระบาดของไข้หวัดใหญ่ทั่วโลก<br />\nการระบาดใหญ่เกิดขึ้นจากการอุบัติของไวรัสชนิดใหม่ เรียงลำดับดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">พ.ศ. 2461-2462 (ค.ศ.1918-1919) ไวรัสไข้หวัดใหญ่ A ชนิดย่อย (subtype) H1N1 (ในยุคนั้นยังไม่สามารถตรวจแยกเชื้อได้ การตรวจชนิดของเชื้อไวรัสเกิดขึ้นภายหลัง) มีชื่อว่าไข้หวัดใหญ่สเปน (Spainish flu) เป็นการระบาดทั่วโลกครั้งร้ายแรงที่สุด คร่าชีวิตผู้คนไปประมาณ 50 ล้านคน (มากกว่าผู้คนที่เสียชีวิตจากสงครามโลกครั้งที่ 1 เสียอีก) เป็นผู้ที่อยู่ในสหรัฐอเมริกาถึงกว่า 500,000 คน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">พ.ศ. 2500-2501 (ค.ศ.1957-1958) ไวรัสไข้หวัดใหญ่ A ชนิดย่อย H2N2 มีชื่อว่าไข้หวัดใหญ่เอเชีย (Asian flu) เริ่มที่ตะวันออกไกลก่อนระบาดไปทั่วโลก มีผู้เสียชีวิต 70,000 คนในสหรัฐอเมริกา การระบาดในครั้งนี้สามารถตรวจพบและจำแนกเชื้อได้รวดเร็ว และผลิตวัคซีนออกมาฉีดป้องกันได้ทัน จึงมีผู้เสียชีวิตไม่มากนัก </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">พ.ศ. 2511-2512 (ค.ศ.1968-1969) ไวรัสไข้หวัดใหญ่ A ชนิดย่อย H3N2 มีชื่อว่าไข้หวัดใหญ่ฮ่องกง (Hong Kong flu) รายงานผู้ป่วยรายแรกเป็นชาวฮ่องกง แล้วจึงแพร่กระจายออกไป มีผู้เสียชีวิตประมาณ 34,000 คนในอเมริกา เป็นชนิดย่อยที่มีลักษณะทางพันธุกรรมคล้ายไข้หวัดใหญ่เอเชีย (H2N2) จึงมีผู้ป่วยจำนวนไม่มากนัก เพราะมีภูมิคุ้มกันอยู่บ้างแล้ว </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">พ.ศ. 2520-2521 (ค.ศ.1977-1978) ไวรัสไข้หวัดใหญ่ A ชนิดย่อย H1N1 กลับมาระบาดใหม่ มีชื่อว่าไข้หวัดใหญ่รัสเซีย (Russian flu) เริ่มระบาดที่ประเทศจีนตอนเหนือแล้วกระจายไปทั่วโลก ทราบภายหลังว่าเป็นไวรัสชนิดเดียวกับที่กระจายอยู่ทั่วไปก่อนปี พ.ศ. 2500 คือ ไข้หวัดใหญ่สเปน (H1N1) ที่ระบาดเมื่อปี พ.ศ. 2461-2462 (ก่อนถูกแทนที่ด้วยไข้หวัดใหญ่เอเชีย คือชนิดย่อย H2N2 ในปี พ.ศ. 2500) ผู้ที่อายุเกิน 23 ปีในขณะนั้น ส่วนใหญ่มีภูมิต้านทานโรคแล้วจากการระบาดครั้งก่อน จึงเกิดโรครุนแรงเฉพาะผู้ที่อายุน้อยกว่า 23 ปี ที่ไม่มีภูมิต้านทานต่อเชื้อไวรัสชนิดนี้เท่านั้น </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">พ.ศ. 2552 (ค.ศ.2009) ไวรัสไข้หวัดใหญ่ A ชนิดย่อย H1N1 เป็นไ<img border=\"0\" width=\"226\" src=\"/files/u17169/226px-EM_of_influenza_virus.jpg\" height=\"240\" />วรัสที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมระหว่างไวรัสไข้หวัดใหญ่นก ไข้หวัดใหญ่หมูและไข้หวัดใหญ่มนุษย์ เกิดเป็นไวรัสไข้หวัดใหญ่พันธุ์ผสม กลับมาระบาดอีกครั้ง มีชื่อว่าไข้หวัดใหญ่เม็กซิโก (Mexican flu) หรือชื่อใหม่ว่าไวรัสไข้หวัดใหญ่ A ชนิดย่อย H1N1 2009 เริ่มระบาดที่ประเทศเม็กซิโกเมื่อเดือน มี.ค.แล้วกระจายสู่สหรัฐอเมริกา แคนาดา นิวซีแลนด์ ฯลฯ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> ไข้หวัดใหญ่และไข้หวัดต่างกันอย่างไร?<br />\nไข้หวัดใหญ่พบมากทุกอายุ โดยเฉพาะในเด็กจะพบมากเป็นพิเศษ แต่อัตราการตายมักจะพบในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 65 ปีหรือผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ โรคปอด โรคไต เป็นต้น การฉีดวัคซีนเป็นวิธีที่ป้องกันได้ผลมากที่สุด สามารถลดอัตราการติดเชื้อ ลดอัตราการนอนโรงพยาบาล ลดโรคแทรกซ้อน และลดการหยุดงาน ไข้หวัดเป็นการติดเชื้อไวรัสทำให้เกิดอาการน้ำมูกไหลมีไข้ไม่สูง สำหรับไข้หวัดใหญ่เป็นการติดเชื้อจากไวรัส ที่เรียกว่า &quot;Influenza virus&quot; เป็นการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจซึ่งอาจจะลามลงไปปอด ผู้ป่วยจะมีอาการค่อนข้างเร็ว ไข้สูงกว่าไข้หวัด ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดกล้ามเนื้อ อ่อนเพลียอย่างฉับพลัน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ในปี ค.ศ. 2003 ได้มีการแนะนำเรื่องไข้หวัดใหญ่ดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการฉีดวัคซีน คือ เดือนตุลาคม และ พฤศจิกายน (เนื่องจากเชื้อนี้มักจะระบาดในต่างประเทศ หากประเทศเราจะฉีดก็น่าจะเป็นช่วงเดียวกัน) โดยเน้นไปที่ประชาชนที่มีอายุ 50 ปี,เด็กอายุ 6-23 เดือน,คนที่อายุ 2-49 ปีที่มีโรคประจำตัวกลุ่มนี้ให้ฉีดในเดือนตุลาคม ส่วนกลุ่มอื่น เช่นเด็ก เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ ผู้ดูแลคนป่วย กลุ่มนี้ให้ฉีดเดือนพฤศจิกายน <br />\nเ ด็กที่อายุ 6-23 เดือน ควรจะฉีดทุกรายโดยเฉพาะเด็กที่มีโรคประจำตัวร่วมด้วย <br />\nชนิดของวัคซีนที่จะฉีดให้ใช้ชนิดที่มีส่วนผสมของเชื้อ A/Moscow/10/99 (H3N2) -like, A/New Caledonia/20/99 (H1N1) -like, และ B/Hong Kong/330/2001 <br />\nให้ลดปริมาณสาร thimerosal ซึ่งเป็นสารปรอท <br />\n อาการ<br />\nมักจะเกิดขึ้นทันทีทันใดด้วยอาการไข้สูง ตัวร้อน หนาว ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อมาก โดยเฉพาะที่หลัง ต้นแขนต้นขา ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ขมในคอ คัดจมูก มีน้ำมูกใสๆ ไอแห้งๆ จุกแน่นท้อง แต่บางรายอาจไม่มีอาการคัดจมูก หรือเป็นหวัดเลยก็ได้ มีข้อสังเกตว่า ไข้หวัดใหญ่มักเป็นหวัดน้อย แต่หวัดน้อยมักเป็นหวัดมาก ไข้มักเป็นอยู่ 2-4 วัน แล้วค่อยๆ ลดลง อาการไอและอ่อนเพลีย อาจเป็นอยู่ 1-4 สัปดาห์ แม้ว่าอาการอื่นๆ จะหายลงแล้ว บางรายเมื่อหายจากไข้หวัดใหญ่แล้วอาจมีอาการเวียนศีรษะเมารถเมาเรือเนื่องจากการอักเสบของอวัยวะการทรงตัวในหูชั้นใน ซึ่งมักจะหายเอง ใน 3-5 วัน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ไข้หวัดใหญ่ที่ไม่มีโรคแทรกซ้อน ระยะฟักตัว 1-4วัน โดยเฉลี่ย 2 วัน <br />\nผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลียอย่างฉับพลัน <br />\nเบื่ออาหาร คลื่นไส้ <br />\nปวดศีรษะอย่างรุนแรง <br />\nปวดตามแขนขา ปวดข้อ ปวดรอบตา <br />\nไข้สูง 39-40 ํc <br />\nเจ็บคอ และ คอแดง มีน้ำมูกใสไหล <br />\nไอแห้ง ๆ <br />\nตามตัวจะร้อน แดง ตาแดง <br />\nอาการอาเจียน หรือท้องเดิน ไข้เป็น 2-4 วันแล้วค่อย ๆ ลดลง แต่อาการคัดจมูก และแสบคอยังคงอยู่โดยทั่วไปจะหายใน 1 สัปดาห์ <br />\nสำหรับรายที่เป็นรุนแรงมักเกิดในผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังอยู่ก่อนมักจะเกิดโรคแทรกซ้อนที่ระบบอื่นด้วย เช่น <br />\nอาจพบการอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บหน้าอก หรืออาการหัวใจวาย ผู้ป่วยจะเหนื่อยหอบ <br />\nระบบประสาท พบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และสมองอักเสบ ผู้ป่วยจะปวดศีรษะมาก และซึมลง <br />\nระบบหายใจ มีหลอดลมอักเสบ และปอดบวมผู้ป่วยจะแน่นหน้าอก และเหนื่อย <br />\nโดยทั่วไปไข้หวัดใหญ่มักจะหายในไม่กี่วัน แต่ก็มีผู้ป่วยบางรายมีอาการไอ และปวดตามตัวนาน 2 สัปดาห์ ส่วนผู้ที่เสียชีวิตมักจะเกิดจากปอดบวม และโรคหัวใจ หรือโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ <br />\n สิ่งตรวจพบ<br />\nไข้ 38.5-40 องศาเซลเซียส หน้าแดง เปลือกตาแดงอาจมีน้ำมูกใสๆ คอแดงเล็กน้อยหรือไม่แดงเลยก็ได้ ส่วนมากมักตรวจไม่พบอาการผิดปกติอื่นๆ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> อาการแทรกซ้อน<br />\nส่วนมากจะหายได้เองโดยไม่มีภาวะแทรกซ้อน ภาวะแทรกซ้อนจะเกิดขึ้นเป็นส่วนน้อย ที่พบได้บ่อย ได้แก่ ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ หูชั้นในอักเสบ หลอดลมอักเสบ ภาวะที่สำคัญคือปอดอักเสบ ซึ่งมักจะเกิดกับจากแบคทีเรียพวก นิวโมค็อกคัส หรือสเตฟฟิโลค็อกคัส ภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรงมักจะเกิดในเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ที่สูบบุหรีจัด หรือผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังทางปอดหรือหัวใจ แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ที่จะมีโอกาสแทรกซ้อนถึงตายได้นั้นนับว่าน้อยมาก มักจะเกิดขึ้นในเด็กเล็ก หรือผู้ป่วยเรื้อรัง </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> การติดต่อ<br />\nเชื้อนี้จะติดต่อได้ง่าย การติดต่อสามารถติดต่อได้โดย </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">เชื้อสามารถติดต่อจากคนหนึ่งไปอีกคนหนึ่งโดยการหายใจได้รับน้ำมูก หรือ เสมหะของผู้ป่วยโดยเชื้อจะผ่านเข้าทางเยื่อบุตา จมูก และปาก <br />\nการที่คนได้สัมผัสสิ่งที่ปนเชื้อโรค เช่น ผ้าเช็ดหน้า ช้อน แก้วน้ำ การจูบ <br />\nการที่มือไปสัมผัสเชื้อแล้วขยี้ตา หรือ เอาเข้าปาก <br />\n ระยะติดต่อ<br />\nระยะเวลาที่ติดต่อคนอื่นคือ 1 วันก่อนเกิดอาการ, 5 วันหลังจากมีอาการ ในเด็กอาจจะแพร่เชื้อ 6 วันก่อนมีอาการ และแพร่เชื้อได้นาน 10 วัน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> การวินิจฉัย<br />\nการวินิจฉัยไข้หวัดใหญ่จะอาศัยประวัติและการตรวจร่างกายเป็นหลักโดยเฉพาะช่วงที่มีการระบาดของเชื้อ การวินิจฉัยที่แน่นอนอาจจะทำได้ 2 วิธีคือ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">นำไม้พันสำลีแหย่ที่คอ หรือจมูก แล้วนำไปเพาะเชื้อ <br />\nเจาะเลือด <br />\nตรวจหาภูมิคุ้มกันต่อเชื้อโดยต้องเจาะ 2 ครั้งห่างกัน 2 ชั่วโมงแล้วเปรียบการเพิ่มของภูมิต่อเชื้อ <br />\nการตรวจหา Antigen <br />\nการตรวจโดยวิธี PCR,Imunofluorescent <br />\n โรคแทรกซ้อน<br />\nติดเชื้อแบคทีเรีย อาจจะทำให้ปอดบวม ฝีในปอด หนองในช่องเยื่อหุ้มปอด นอกจากนี้ ไข้หวัดใหญ่ในหญิงมีครรภ์ ยังผลต่อมารดามักเป็นชนิดรุนแรงและมีอาการมาก ผลต่อเด็กอาจจะทำให้แท้ง </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> การรักษา<br />\nไข้หวัดใหญ่ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนท่านผู้อ่านสามารถดูแลตัวเองที่บ้าน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ให้นอนพักไม่ควรออกกำลังกาย </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ให้ดื่มน้ำ หรือ น้ำผลไม้ หรือน้ำซุป หรืออาจจะดื่มน้ำเกลือแร่ ร่วมด้วย แต่ไม่ควรดื่มน้ำเปล่าอย่างเดียว เพราะจะทำให้ท่านขาดเกลือแร่ได้ หรืออาจจะเตรียมโดยใช้น้ำข้าวใส่เกลือ และน้ำตาลก็ได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ให้การดูแลปฏิบัตตัว และรักษาตามอาการเหมือนไข้หวัด คือ นอนพักผ่อนมากๆ ห้ามตรากตรำทำงานหนัก ห้ามอาบน้ำเย็น ใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดตัวเวลามีไข้สูง กินอาหารอ่อน ดื่มน้ำและน้ำหวาน หรือน้ำผลไม้ ให้ยาแก้ปวดParacetamol ผู้ใหญ่ ครั้งละ 1-2 เม็ด (500 มิลิกรัม) วันละ 2-3 ครั้ง ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาแอสไพริน <br />\nยาปฏิชีวนะ ไม่จำเป็นต้องให้เพราะเป็นโรคที่เกิดจากไวรัส จะให้ก็ต่อเมื่อมีภาวะแทรกซ้อนจากเชื้อแบคทีเรีย เช่น น้ำมูกหรือเสลดเป็นสีเหลืองหรือเขียว ยาปฏิชีวนะที่มีให้เลือกใช้ ได้แก่ เพนวี ขนาดผู้ใหญ่ ให้ครั้งละ 4 แสนยูนิต ก่อนอาหาร 1 ชั่วโมง วันละ4 ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอน ในเด็กให้ครั้งละ 50,000 ยูนิต ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม แบ่งให้วันละ 4 ครั้ง หรืออิริโทรไมซิน ผู้ใหญ่ ให้ครั้งละ 250-500 มิลลิกรัม วันละ 4 ครั้ง ในเด็ก ให้วันละ 30-50 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม แบ่งให้ทุก 6 ชั่วโมง <br />\nถ้ามีอาการหอบหรือสงสัยปอดอักเสบ ควรส่งโรงพยาบาลโดยด่วน <br />\nข้อแนะนำ<br />\nโรคนี้ไม่ถือว่าเป็นโรคร้ายแรง ส่วนมาให้การดูแลตามอาการก็จะได้เองภายใน 3-5 วัน ถ้ามีไข้เกิน7 วัน ควรสงสัยไข้อื่นๆ นอนจากไข้หวัด ควรพบแพทย์เพื่อดูแลรักษาต่อไป <br />\nการป้องกัน<br />\nปฏิบัติตัวเหมือนโรคหวัด </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">การรักษาตามอาการ และการประคับประคอง<br />\nลดไข้ด้วยยาลดไข้ เช่น paracetamol ไม่ควรให้ aspirin ในคนที่มีอายุน้อยกว่า 16 ปีเพราะอาจจะทำให้เกิด Reye syndrome ไม่ควรใช้ยาปฏิชีวนะ ถ้าไอมากอาจจะซื้อยาแก้ไอรับประทาน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">สำหรับผู้ที่เจ็บคออาจใช้น้ำ 1 แก้วผสมกับเกลือ 1 ช้อนกลั้วคอ แต่ห้ามดื่ม </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">สำหรับท่านที่มีอาการคัดจมูกอาจจะใช้ไอน้ำช่วยวิธีง่าย ๆ คือ ต้มน้ำร้อนแล้วให้นั่งหน้ากาน้ำเอาผ้าคลุมศีรษะและสูดดมไอน้ำ อาจจะใส่ vick หรือขิงลงไปเพื่อบรรเทาอาการคัดจมูก </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">อย่าสั่งน้ำมูกแรง ๆ เพราะจะทำให้เชื้อลุกลาม </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ให้ล้างมือบ่อย ๆ เมื่อออกนอกบ้าน ในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อไข้หวัดใหญ่ให้หลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์ ลูกบิดประตู เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">สวมผ้าปิดจมูก ป้องกันการแพร่เชื้อไปยังผู้อื่น และช่วยป้องกันเชื้อโรคไม่ให้เข้าสู่ร่างกาย เพราะ ระหว่างเป็นโรคไข้หวัดใหญ่ จะมีภูมิต้านทานต่ำ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ไม่อยู่ใกล้ เด็ก หรือ ผู้ที่มีภูมิต้านทานต่ำ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ช่วงที่มีการระบาดให้หลีกเลี่ยงจากที่สาธารณะ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> ผู้ป่วยควรพบแพทย์เมื่อไร<br />\nไข้หวัดใหญ่สามารถหายเองได้และท่านสามารถดูแลตัวเองที่บ้าน แต่หากมีอาการดังต่อไปนี้ปรึกษาแพทย์ประจำตัวท่าน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ป่วยเด็ก<br />\nในเด็กควรจะปรึกษาแพทย์เมื่อ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ไข้สูง และเป็นนาน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ให้ยาลดไข้แล้วไข้ยังเกิน 38.5ํ c </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">หายใจหอบ หรือหายใจลำบาก </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">มีอาการมากกว่า 7 วัน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผิวสีม่วง </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">เด็กดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารไม่พอ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">เด็กซึมลง ไม่เล่น </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">เด็กไข้ลดลง แต่หายใจหอบ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> ผู้ป่วยผู้ใหญ่<br />\nสำหรับผู้ใหญ่ที่เป็นไข้หวัดใหญ่ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ไข้สูง และเป็นมานาน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">หายใจลำบาก หรือหายใจหอบ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">เจ็บหรือแน่นหน้าอก </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">หน้ามืดเป็นลม </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">สับสน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">อาเจียน รับประทานอาหารไม่ได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> ผู้ป่วยที่เป็นกลุ่มเสี่ยง<br />\nผู้ป่วยที่เป็นกลุ่มเสี่ยงควรพบแพทย์ทันทีที่เป็นไข้หวัดใหญ่ เนื่องจากโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อน ได้แก่ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ที่มีโรคเรื้อรังประจำตัว เช่น โรคหัวใจ โรคตับ โรคไต เบาหวาน หอบหืด มะเร็ง เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">คนท้อง </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ป่วยโรคเอดส์ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ที่พักในบ้านพักคนชรา </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ป่วยอายุมากกว่า 65 ปี ขึ้นไป </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> ผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ที่มีอาการต่อไปนี้ต้องเข้าโรงพยาบาล<br />\nมีอาการขาดน้ำ ไม่สามารถดื่มน้ำได้อย่างเพียงพอ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ไอ แล้วเสมหะมีเลือดปน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">หายใจลำบาก หายใจหอบ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">สีริมฝีปากเปลี่ยนเป็นสีเขียว </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ไข้สูงมากผู้ป่วยเพ้อ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">มีอาการไข้ และไอหลังจากที่อาการไข้หวัดใหญ่หายไปแล้ว </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> การรักษาในโรงพยาบาล<br />\nผู้ป่วยที่ขาดน้ำแพทย์จะให้น้ำเกลือ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ป่วยเหล่านี้ควรได้รับยา amantadine และ rimantadine เพื่อให้หายเร็ว และลดความรุนแรงของโรคยานี้ควรให้ภายใน 48 ชั่วโมงหลัง* จากเริ่มมีอาการและให้ต่อ 5-7 วัน ยานี้ไม่ช่วยลดโรคแทรกซ้อน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ถ้ามีอาการคัดจมูกแพทย์จะให้ยาลดน้ำมูก </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ถ้าไม่มีโรคแทรกซ้อนก็ไม่ควรให้ยาปฏิชีวนะ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาการจะหายใน 2-3 วัน ไข้จะหายใน 7 วัน อาการอ่อนเพลียอาจจะอยู่ได้นาน1-2 สัปดาห์ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> การป้องกัน<br />\nล้างมือบ่อยๆ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">หลีกเลี่ยงการเอามือเข้าปากหรือขยี้ตา </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">อย่าใช้ของส่วนตัวร่วมกับคนอื่น เช่น ผ้าเช็ดตัว แก้วน้ำ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิด เมื่อเวลาเจ็บป่วย </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ให้พักที่บ้านเมื่อเวลาป่วย </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">สวมผ้าปิดจมูก เวลาไอ หรือจาม </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">วัคซีนป้องกัน<br />\nการป้องกันที่ดี คือ การฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ซึ่งเป็นวัคซีนที่ทำจากเชื้อที่ตายแล้วโดยฉีดที่แขนปีละครั้ง หลังฉีด 2สัปดาห์ภูมิคุ้มกันจึงจะสูงพอป้องกันการติดเชื้อ แต่การฉีดจะเลือกผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อน คือ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ที่อายุมากกว่า 50 ปี </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ที่มีโรคเรื้อรังประจำตัวเช่น โรคไต โรคหัวใจ โรคตับ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ป่วยโรคเบาหวาน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ป่วยโรคเอดส์ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">หญิงตั้งครรภ์ 3 เดือนขึ้นไป และมีการระบาดของไข้หวัดใหญ่ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ที่อาศัยในบ้านพักคนชรา </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">สมาชิกในครอบครัวที่เป็นโรคเรื้อรัง </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">นักเรียนที่อยู่รวมกัน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ที่จะไปเที่ยวยังแหล่งระบาดของไข้หวัดใหญ่ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ที่ต้องการลดอัตราการติดเชื้อ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> การใช้ยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่เพื่อรักษา<br />\nอะแมนตาดีน และ ไรแมนตาดีน เป็นยาที่ใช้ในการป้องกันและรักษาไวรัสไๆข้หวัดใหญ่ชนิด A ไม่ครอบคลุมชนิด B <br />\nซานามิเวียร์ และ โอเซลทามิเวียร์ เป็นยาที่รักษาได้ทั้งไวรัสไข้หวัดใหญ่ทั้งชนิด A,B <br />\nการให้ยาภายใน 2 วันหลังเกิดอาการจะลดระยะเวลาเป็นโรค </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> จะใช้ยารักษาไข้หวัดกับคนกลุ่มใด<br />\nเราจะใช้ยากับคนกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนจากไข้หวัดใหญ่ และยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีน และอยู่ในช่วงที่มีการระบาดของโรคกลุ่มที่ควรจะได้รับยารักษา ได้แก่ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">คนที่อายุมากกว่า 65 ปี </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">เด็กอายุ 6-23 เดือน </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">คนท้อง </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">คนที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต โรคตับ โรคหัวใจ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\"> การให้ยาเพื่อป้องกันไข้หวัดใหญ่<br />\nยาที่ได้รับการรับรองว่าใช้ป้องกันไข้หวัดใหญ่ ได้แก่ อะแมนตาดีน ไรแมนตาดีน และ โอเซลทามิเวียร์ วิธีการป้องกันไข้หวัดใหญ่ที่ดีที่สุดคือ การฉีดวัคซีน แต่ก็มีบางกรณีที่จำเป็นต้องให้ยาเพื่อป้องกันไข้หวัดใหญ่ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับวัคซีนไม่ทัน ทำให้ต้องได้รับยาในช่วงที่มีการระบาดของโรค </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ที่ดูแลกลุ่มเสี่ยงและไม่ได้รับการฉีดวัคซีน ควรจะได้รับยาในช่วงที่มีการระบาดของโรค </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันไม่ดี เช่น โรคเอดส์ </span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">กลุ่มคนที่ไม่ได้ฉีดวัคซีน และไม่อยากเป็นโรค </span>\n</p>\n<h2><span id=\".E0.B8.AD.E0.B9.89.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B8.AD.E0.B8.B4.E0.B8.87\" class=\"mw-headline\"><a href=\"/node/39658\">&lt; กลับสู่หน้าหลัก</a></span></h2>\n', created = 1715414400, expire = 1715500800, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:568b762dcef1d5f5df842a7f7b10244b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไข้หวัดใหญ่

 

โรคไข้หวัดใหญ่ อังกฤษ: Influenza) เป็นโรคที่พบได้บ่อยในทุกคนทุกเพศทุกวัย พบได้เกือบทั้งปี แต่จะเป็นมากในช่วงฤดูฝน ซึ่งบางปีอาจจะพบการระบาด พบเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ของอาการไข้ที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน แพทย์มักจะให้การวินิจฉัยผู้ใหญ่ที่มีอาการตัวร้อนมา 2-3 วัน โดยไม่มีอาการอย่างอื่นชัดเจนว่าเป็นไข้หวัดใหญ่ ซึ่งบางครั้งก็อาจพบการผิดพลาดได้

 สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไข้หวัดใหญ่ ซึ่งเป็นไวรัสมีชื่อว่า ไวรัสอินฟลูเอนซา ( Influenza virus ) เชื้อนี้จะอยู่ในน้ำมูก น้ำลาย หรือเสมหะของผู้ป่วย ติดต่อโดยการไอ หรือจาม หรือการสัมผัสถูกมือของเครื่องใช้เปื้อนเชื้อโรค ระยะฟักตัว 1-4 วัน เชื้อไข้หวัดใหญ่มีอยู่ 3 ชนิด เรียกว่า ชนิด เอ,บี และซี ซึ่งแต่ละชนิดยังแบ่งเป็นพันธ์ย่อยๆ ไปอีกมากมาย ในการเกิดโรคแต่ละครั้งจะเกิดจากพันธุ์ย่อยๆ เพียงพันธุ์เดียว ซึ่งเป็นแล้วจะมีภูมิคุ้มกันต่อพันธุ์นั้น เชื้อไข้หวัดใหญ่บางพันธุ์ อาจผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันทำให้เกิดการระบาดใหญ่ และมีการเรียกชื่อโรคที่ระบาดแต่ละครั้งตามชื่อของประเทศที่เป็นแหล่งต้นกำเนิด

การระบาดของไข้หวัดใหญ่ทั่วโลก
การระบาดใหญ่เกิดขึ้นจากการอุบัติของไวรัสชนิดใหม่ เรียงลำดับดังนี้

พ.ศ. 2461-2462 (ค.ศ.1918-1919) ไวรัสไข้หวัดใหญ่ A ชนิดย่อย (subtype) H1N1 (ในยุคนั้นยังไม่สามารถตรวจแยกเชื้อได้ การตรวจชนิดของเชื้อไวรัสเกิดขึ้นภายหลัง) มีชื่อว่าไข้หวัดใหญ่สเปน (Spainish flu) เป็นการระบาดทั่วโลกครั้งร้ายแรงที่สุด คร่าชีวิตผู้คนไปประมาณ 50 ล้านคน (มากกว่าผู้คนที่เสียชีวิตจากสงครามโลกครั้งที่ 1 เสียอีก) เป็นผู้ที่อยู่ในสหรัฐอเมริกาถึงกว่า 500,000 คน

พ.ศ. 2500-2501 (ค.ศ.1957-1958) ไวรัสไข้หวัดใหญ่ A ชนิดย่อย H2N2 มีชื่อว่าไข้หวัดใหญ่เอเชีย (Asian flu) เริ่มที่ตะวันออกไกลก่อนระบาดไปทั่วโลก มีผู้เสียชีวิต 70,000 คนในสหรัฐอเมริกา การระบาดในครั้งนี้สามารถตรวจพบและจำแนกเชื้อได้รวดเร็ว และผลิตวัคซีนออกมาฉีดป้องกันได้ทัน จึงมีผู้เสียชีวิตไม่มากนัก

พ.ศ. 2511-2512 (ค.ศ.1968-1969) ไวรัสไข้หวัดใหญ่ A ชนิดย่อย H3N2 มีชื่อว่าไข้หวัดใหญ่ฮ่องกง (Hong Kong flu) รายงานผู้ป่วยรายแรกเป็นชาวฮ่องกง แล้วจึงแพร่กระจายออกไป มีผู้เสียชีวิตประมาณ 34,000 คนในอเมริกา เป็นชนิดย่อยที่มีลักษณะทางพันธุกรรมคล้ายไข้หวัดใหญ่เอเชีย (H2N2) จึงมีผู้ป่วยจำนวนไม่มากนัก เพราะมีภูมิคุ้มกันอยู่บ้างแล้ว

พ.ศ. 2520-2521 (ค.ศ.1977-1978) ไวรัสไข้หวัดใหญ่ A ชนิดย่อย H1N1 กลับมาระบาดใหม่ มีชื่อว่าไข้หวัดใหญ่รัสเซีย (Russian flu) เริ่มระบาดที่ประเทศจีนตอนเหนือแล้วกระจายไปทั่วโลก ทราบภายหลังว่าเป็นไวรัสชนิดเดียวกับที่กระจายอยู่ทั่วไปก่อนปี พ.ศ. 2500 คือ ไข้หวัดใหญ่สเปน (H1N1) ที่ระบาดเมื่อปี พ.ศ. 2461-2462 (ก่อนถูกแทนที่ด้วยไข้หวัดใหญ่เอเชีย คือชนิดย่อย H2N2 ในปี พ.ศ. 2500) ผู้ที่อายุเกิน 23 ปีในขณะนั้น ส่วนใหญ่มีภูมิต้านทานโรคแล้วจากการระบาดครั้งก่อน จึงเกิดโรครุนแรงเฉพาะผู้ที่อายุน้อยกว่า 23 ปี ที่ไม่มีภูมิต้านทานต่อเชื้อไวรัสชนิดนี้เท่านั้น

พ.ศ. 2552 (ค.ศ.2009) ไวรัสไข้หวัดใหญ่ A ชนิดย่อย H1N1 เป็นไวรัสที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมระหว่างไวรัสไข้หวัดใหญ่นก ไข้หวัดใหญ่หมูและไข้หวัดใหญ่มนุษย์ เกิดเป็นไวรัสไข้หวัดใหญ่พันธุ์ผสม กลับมาระบาดอีกครั้ง มีชื่อว่าไข้หวัดใหญ่เม็กซิโก (Mexican flu) หรือชื่อใหม่ว่าไวรัสไข้หวัดใหญ่ A ชนิดย่อย H1N1 2009 เริ่มระบาดที่ประเทศเม็กซิโกเมื่อเดือน มี.ค.แล้วกระจายสู่สหรัฐอเมริกา แคนาดา นิวซีแลนด์ ฯลฯ

 ไข้หวัดใหญ่และไข้หวัดต่างกันอย่างไร?
ไข้หวัดใหญ่พบมากทุกอายุ โดยเฉพาะในเด็กจะพบมากเป็นพิเศษ แต่อัตราการตายมักจะพบในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 65 ปีหรือผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ โรคปอด โรคไต เป็นต้น การฉีดวัคซีนเป็นวิธีที่ป้องกันได้ผลมากที่สุด สามารถลดอัตราการติดเชื้อ ลดอัตราการนอนโรงพยาบาล ลดโรคแทรกซ้อน และลดการหยุดงาน ไข้หวัดเป็นการติดเชื้อไวรัสทำให้เกิดอาการน้ำมูกไหลมีไข้ไม่สูง สำหรับไข้หวัดใหญ่เป็นการติดเชื้อจากไวรัส ที่เรียกว่า "Influenza virus" เป็นการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจซึ่งอาจจะลามลงไปปอด ผู้ป่วยจะมีอาการค่อนข้างเร็ว ไข้สูงกว่าไข้หวัด ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดกล้ามเนื้อ อ่อนเพลียอย่างฉับพลัน

ในปี ค.ศ. 2003 ได้มีการแนะนำเรื่องไข้หวัดใหญ่ดังนี้

ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการฉีดวัคซีน คือ เดือนตุลาคม และ พฤศจิกายน (เนื่องจากเชื้อนี้มักจะระบาดในต่างประเทศ หากประเทศเราจะฉีดก็น่าจะเป็นช่วงเดียวกัน) โดยเน้นไปที่ประชาชนที่มีอายุ 50 ปี,เด็กอายุ 6-23 เดือน,คนที่อายุ 2-49 ปีที่มีโรคประจำตัวกลุ่มนี้ให้ฉีดในเดือนตุลาคม ส่วนกลุ่มอื่น เช่นเด็ก เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ ผู้ดูแลคนป่วย กลุ่มนี้ให้ฉีดเดือนพฤศจิกายน
เ ด็กที่อายุ 6-23 เดือน ควรจะฉีดทุกรายโดยเฉพาะเด็กที่มีโรคประจำตัวร่วมด้วย
ชนิดของวัคซีนที่จะฉีดให้ใช้ชนิดที่มีส่วนผสมของเชื้อ A/Moscow/10/99 (H3N2) -like, A/New Caledonia/20/99 (H1N1) -like, และ B/Hong Kong/330/2001
ให้ลดปริมาณสาร thimerosal ซึ่งเป็นสารปรอท
 อาการ
มักจะเกิดขึ้นทันทีทันใดด้วยอาการไข้สูง ตัวร้อน หนาว ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อมาก โดยเฉพาะที่หลัง ต้นแขนต้นขา ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ขมในคอ คัดจมูก มีน้ำมูกใสๆ ไอแห้งๆ จุกแน่นท้อง แต่บางรายอาจไม่มีอาการคัดจมูก หรือเป็นหวัดเลยก็ได้ มีข้อสังเกตว่า ไข้หวัดใหญ่มักเป็นหวัดน้อย แต่หวัดน้อยมักเป็นหวัดมาก ไข้มักเป็นอยู่ 2-4 วัน แล้วค่อยๆ ลดลง อาการไอและอ่อนเพลีย อาจเป็นอยู่ 1-4 สัปดาห์ แม้ว่าอาการอื่นๆ จะหายลงแล้ว บางรายเมื่อหายจากไข้หวัดใหญ่แล้วอาจมีอาการเวียนศีรษะเมารถเมาเรือเนื่องจากการอักเสบของอวัยวะการทรงตัวในหูชั้นใน ซึ่งมักจะหายเอง ใน 3-5 วัน

ไข้หวัดใหญ่ที่ไม่มีโรคแทรกซ้อน ระยะฟักตัว 1-4วัน โดยเฉลี่ย 2 วัน
ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลียอย่างฉับพลัน
เบื่ออาหาร คลื่นไส้
ปวดศีรษะอย่างรุนแรง
ปวดตามแขนขา ปวดข้อ ปวดรอบตา
ไข้สูง 39-40 ํc
เจ็บคอ และ คอแดง มีน้ำมูกใสไหล
ไอแห้ง ๆ
ตามตัวจะร้อน แดง ตาแดง
อาการอาเจียน หรือท้องเดิน ไข้เป็น 2-4 วันแล้วค่อย ๆ ลดลง แต่อาการคัดจมูก และแสบคอยังคงอยู่โดยทั่วไปจะหายใน 1 สัปดาห์
สำหรับรายที่เป็นรุนแรงมักเกิดในผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังอยู่ก่อนมักจะเกิดโรคแทรกซ้อนที่ระบบอื่นด้วย เช่น
อาจพบการอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บหน้าอก หรืออาการหัวใจวาย ผู้ป่วยจะเหนื่อยหอบ
ระบบประสาท พบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และสมองอักเสบ ผู้ป่วยจะปวดศีรษะมาก และซึมลง
ระบบหายใจ มีหลอดลมอักเสบ และปอดบวมผู้ป่วยจะแน่นหน้าอก และเหนื่อย
โดยทั่วไปไข้หวัดใหญ่มักจะหายในไม่กี่วัน แต่ก็มีผู้ป่วยบางรายมีอาการไอ และปวดตามตัวนาน 2 สัปดาห์ ส่วนผู้ที่เสียชีวิตมักจะเกิดจากปอดบวม และโรคหัวใจ หรือโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
 สิ่งตรวจพบ
ไข้ 38.5-40 องศาเซลเซียส หน้าแดง เปลือกตาแดงอาจมีน้ำมูกใสๆ คอแดงเล็กน้อยหรือไม่แดงเลยก็ได้ ส่วนมากมักตรวจไม่พบอาการผิดปกติอื่นๆ

 อาการแทรกซ้อน
ส่วนมากจะหายได้เองโดยไม่มีภาวะแทรกซ้อน ภาวะแทรกซ้อนจะเกิดขึ้นเป็นส่วนน้อย ที่พบได้บ่อย ได้แก่ ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ หูชั้นในอักเสบ หลอดลมอักเสบ ภาวะที่สำคัญคือปอดอักเสบ ซึ่งมักจะเกิดกับจากแบคทีเรียพวก นิวโมค็อกคัส หรือสเตฟฟิโลค็อกคัส ภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรงมักจะเกิดในเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ที่สูบบุหรีจัด หรือผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังทางปอดหรือหัวใจ แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ที่จะมีโอกาสแทรกซ้อนถึงตายได้นั้นนับว่าน้อยมาก มักจะเกิดขึ้นในเด็กเล็ก หรือผู้ป่วยเรื้อรัง

 การติดต่อ
เชื้อนี้จะติดต่อได้ง่าย การติดต่อสามารถติดต่อได้โดย

เชื้อสามารถติดต่อจากคนหนึ่งไปอีกคนหนึ่งโดยการหายใจได้รับน้ำมูก หรือ เสมหะของผู้ป่วยโดยเชื้อจะผ่านเข้าทางเยื่อบุตา จมูก และปาก
การที่คนได้สัมผัสสิ่งที่ปนเชื้อโรค เช่น ผ้าเช็ดหน้า ช้อน แก้วน้ำ การจูบ
การที่มือไปสัมผัสเชื้อแล้วขยี้ตา หรือ เอาเข้าปาก
 ระยะติดต่อ
ระยะเวลาที่ติดต่อคนอื่นคือ 1 วันก่อนเกิดอาการ, 5 วันหลังจากมีอาการ ในเด็กอาจจะแพร่เชื้อ 6 วันก่อนมีอาการ และแพร่เชื้อได้นาน 10 วัน

 การวินิจฉัย
การวินิจฉัยไข้หวัดใหญ่จะอาศัยประวัติและการตรวจร่างกายเป็นหลักโดยเฉพาะช่วงที่มีการระบาดของเชื้อ การวินิจฉัยที่แน่นอนอาจจะทำได้ 2 วิธีคือ

นำไม้พันสำลีแหย่ที่คอ หรือจมูก แล้วนำไปเพาะเชื้อ
เจาะเลือด
ตรวจหาภูมิคุ้มกันต่อเชื้อโดยต้องเจาะ 2 ครั้งห่างกัน 2 ชั่วโมงแล้วเปรียบการเพิ่มของภูมิต่อเชื้อ
การตรวจหา Antigen
การตรวจโดยวิธี PCR,Imunofluorescent
 โรคแทรกซ้อน
ติดเชื้อแบคทีเรีย อาจจะทำให้ปอดบวม ฝีในปอด หนองในช่องเยื่อหุ้มปอด นอกจากนี้ ไข้หวัดใหญ่ในหญิงมีครรภ์ ยังผลต่อมารดามักเป็นชนิดรุนแรงและมีอาการมาก ผลต่อเด็กอาจจะทำให้แท้ง

 การรักษา
ไข้หวัดใหญ่ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนท่านผู้อ่านสามารถดูแลตัวเองที่บ้าน

ให้นอนพักไม่ควรออกกำลังกาย

ให้ดื่มน้ำ หรือ น้ำผลไม้ หรือน้ำซุป หรืออาจจะดื่มน้ำเกลือแร่ ร่วมด้วย แต่ไม่ควรดื่มน้ำเปล่าอย่างเดียว เพราะจะทำให้ท่านขาดเกลือแร่ได้ หรืออาจจะเตรียมโดยใช้น้ำข้าวใส่เกลือ และน้ำตาลก็ได้

ให้การดูแลปฏิบัตตัว และรักษาตามอาการเหมือนไข้หวัด คือ นอนพักผ่อนมากๆ ห้ามตรากตรำทำงานหนัก ห้ามอาบน้ำเย็น ใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดตัวเวลามีไข้สูง กินอาหารอ่อน ดื่มน้ำและน้ำหวาน หรือน้ำผลไม้ ให้ยาแก้ปวดParacetamol ผู้ใหญ่ ครั้งละ 1-2 เม็ด (500 มิลิกรัม) วันละ 2-3 ครั้ง ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาแอสไพริน
ยาปฏิชีวนะ ไม่จำเป็นต้องให้เพราะเป็นโรคที่เกิดจากไวรัส จะให้ก็ต่อเมื่อมีภาวะแทรกซ้อนจากเชื้อแบคทีเรีย เช่น น้ำมูกหรือเสลดเป็นสีเหลืองหรือเขียว ยาปฏิชีวนะที่มีให้เลือกใช้ ได้แก่ เพนวี ขนาดผู้ใหญ่ ให้ครั้งละ 4 แสนยูนิต ก่อนอาหาร 1 ชั่วโมง วันละ4 ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอน ในเด็กให้ครั้งละ 50,000 ยูนิต ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม แบ่งให้วันละ 4 ครั้ง หรืออิริโทรไมซิน ผู้ใหญ่ ให้ครั้งละ 250-500 มิลลิกรัม วันละ 4 ครั้ง ในเด็ก ให้วันละ 30-50 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม แบ่งให้ทุก 6 ชั่วโมง
ถ้ามีอาการหอบหรือสงสัยปอดอักเสบ ควรส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
ข้อแนะนำ
โรคนี้ไม่ถือว่าเป็นโรคร้ายแรง ส่วนมาให้การดูแลตามอาการก็จะได้เองภายใน 3-5 วัน ถ้ามีไข้เกิน7 วัน ควรสงสัยไข้อื่นๆ นอนจากไข้หวัด ควรพบแพทย์เพื่อดูแลรักษาต่อไป
การป้องกัน
ปฏิบัติตัวเหมือนโรคหวัด

การรักษาตามอาการ และการประคับประคอง
ลดไข้ด้วยยาลดไข้ เช่น paracetamol ไม่ควรให้ aspirin ในคนที่มีอายุน้อยกว่า 16 ปีเพราะอาจจะทำให้เกิด Reye syndrome ไม่ควรใช้ยาปฏิชีวนะ ถ้าไอมากอาจจะซื้อยาแก้ไอรับประทาน

สำหรับผู้ที่เจ็บคออาจใช้น้ำ 1 แก้วผสมกับเกลือ 1 ช้อนกลั้วคอ แต่ห้ามดื่ม

สำหรับท่านที่มีอาการคัดจมูกอาจจะใช้ไอน้ำช่วยวิธีง่าย ๆ คือ ต้มน้ำร้อนแล้วให้นั่งหน้ากาน้ำเอาผ้าคลุมศีรษะและสูดดมไอน้ำ อาจจะใส่ vick หรือขิงลงไปเพื่อบรรเทาอาการคัดจมูก

อย่าสั่งน้ำมูกแรง ๆ เพราะจะทำให้เชื้อลุกลาม

ให้ล้างมือบ่อย ๆ เมื่อออกนอกบ้าน ในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อไข้หวัดใหญ่ให้หลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์ ลูกบิดประตู เป็นต้น

สวมผ้าปิดจมูก ป้องกันการแพร่เชื้อไปยังผู้อื่น และช่วยป้องกันเชื้อโรคไม่ให้เข้าสู่ร่างกาย เพราะ ระหว่างเป็นโรคไข้หวัดใหญ่ จะมีภูมิต้านทานต่ำ

ไม่อยู่ใกล้ เด็ก หรือ ผู้ที่มีภูมิต้านทานต่ำ

ช่วงที่มีการระบาดให้หลีกเลี่ยงจากที่สาธารณะ

 ผู้ป่วยควรพบแพทย์เมื่อไร
ไข้หวัดใหญ่สามารถหายเองได้และท่านสามารถดูแลตัวเองที่บ้าน แต่หากมีอาการดังต่อไปนี้ปรึกษาแพทย์ประจำตัวท่าน

ผู้ป่วยเด็ก
ในเด็กควรจะปรึกษาแพทย์เมื่อ

ไข้สูง และเป็นนาน

ให้ยาลดไข้แล้วไข้ยังเกิน 38.5ํ c

หายใจหอบ หรือหายใจลำบาก

มีอาการมากกว่า 7 วัน

ผิวสีม่วง

เด็กดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารไม่พอ

เด็กซึมลง ไม่เล่น

เด็กไข้ลดลง แต่หายใจหอบ

 ผู้ป่วยผู้ใหญ่
สำหรับผู้ใหญ่ที่เป็นไข้หวัดใหญ่

ไข้สูง และเป็นมานาน

หายใจลำบาก หรือหายใจหอบ

เจ็บหรือแน่นหน้าอก

หน้ามืดเป็นลม

สับสน

อาเจียน รับประทานอาหารไม่ได้

 ผู้ป่วยที่เป็นกลุ่มเสี่ยง
ผู้ป่วยที่เป็นกลุ่มเสี่ยงควรพบแพทย์ทันทีที่เป็นไข้หวัดใหญ่ เนื่องจากโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อน ได้แก่

ผู้ที่มีโรคเรื้อรังประจำตัว เช่น โรคหัวใจ โรคตับ โรคไต เบาหวาน หอบหืด มะเร็ง เป็นต้น

คนท้อง

ผู้ป่วยโรคเอดส์

ผู้ที่พักในบ้านพักคนชรา

ผู้ป่วยอายุมากกว่า 65 ปี ขึ้นไป

 ผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ที่มีอาการต่อไปนี้ต้องเข้าโรงพยาบาล
มีอาการขาดน้ำ ไม่สามารถดื่มน้ำได้อย่างเพียงพอ

ไอ แล้วเสมหะมีเลือดปน

หายใจลำบาก หายใจหอบ

สีริมฝีปากเปลี่ยนเป็นสีเขียว

ไข้สูงมากผู้ป่วยเพ้อ

มีอาการไข้ และไอหลังจากที่อาการไข้หวัดใหญ่หายไปแล้ว

 การรักษาในโรงพยาบาล
ผู้ป่วยที่ขาดน้ำแพทย์จะให้น้ำเกลือ

ผู้ป่วยเหล่านี้ควรได้รับยา amantadine และ rimantadine เพื่อให้หายเร็ว และลดความรุนแรงของโรคยานี้ควรให้ภายใน 48 ชั่วโมงหลัง* จากเริ่มมีอาการและให้ต่อ 5-7 วัน ยานี้ไม่ช่วยลดโรคแทรกซ้อน

ถ้ามีอาการคัดจมูกแพทย์จะให้ยาลดน้ำมูก

ถ้าไม่มีโรคแทรกซ้อนก็ไม่ควรให้ยาปฏิชีวนะ

ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาการจะหายใน 2-3 วัน ไข้จะหายใน 7 วัน อาการอ่อนเพลียอาจจะอยู่ได้นาน1-2 สัปดาห์

 การป้องกัน
ล้างมือบ่อยๆ

หลีกเลี่ยงการเอามือเข้าปากหรือขยี้ตา

อย่าใช้ของส่วนตัวร่วมกับคนอื่น เช่น ผ้าเช็ดตัว แก้วน้ำ

หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิด เมื่อเวลาเจ็บป่วย

ให้พักที่บ้านเมื่อเวลาป่วย

สวมผ้าปิดจมูก เวลาไอ หรือจาม

วัคซีนป้องกัน
การป้องกันที่ดี คือ การฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ซึ่งเป็นวัคซีนที่ทำจากเชื้อที่ตายแล้วโดยฉีดที่แขนปีละครั้ง หลังฉีด 2สัปดาห์ภูมิคุ้มกันจึงจะสูงพอป้องกันการติดเชื้อ แต่การฉีดจะเลือกผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อน คือ

ผู้ที่อายุมากกว่า 50 ปี

ผู้ที่มีโรคเรื้อรังประจำตัวเช่น โรคไต โรคหัวใจ โรคตับ

ผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ผู้ป่วยโรคเอดส์

หญิงตั้งครรภ์ 3 เดือนขึ้นไป และมีการระบาดของไข้หวัดใหญ่

ผู้ที่อาศัยในบ้านพักคนชรา

เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

สมาชิกในครอบครัวที่เป็นโรคเรื้อรัง

นักเรียนที่อยู่รวมกัน

ผู้ที่จะไปเที่ยวยังแหล่งระบาดของไข้หวัดใหญ่

ผู้ที่ต้องการลดอัตราการติดเชื้อ

 การใช้ยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่เพื่อรักษา
อะแมนตาดีน และ ไรแมนตาดีน เป็นยาที่ใช้ในการป้องกันและรักษาไวรัสไๆข้หวัดใหญ่ชนิด A ไม่ครอบคลุมชนิด B
ซานามิเวียร์ และ โอเซลทามิเวียร์ เป็นยาที่รักษาได้ทั้งไวรัสไข้หวัดใหญ่ทั้งชนิด A,B
การให้ยาภายใน 2 วันหลังเกิดอาการจะลดระยะเวลาเป็นโรค

 จะใช้ยารักษาไข้หวัดกับคนกลุ่มใด
เราจะใช้ยากับคนกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนจากไข้หวัดใหญ่ และยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีน และอยู่ในช่วงที่มีการระบาดของโรคกลุ่มที่ควรจะได้รับยารักษา ได้แก่

คนที่อายุมากกว่า 65 ปี

เด็กอายุ 6-23 เดือน

คนท้อง

คนที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต โรคตับ โรคหัวใจ

 การให้ยาเพื่อป้องกันไข้หวัดใหญ่
ยาที่ได้รับการรับรองว่าใช้ป้องกันไข้หวัดใหญ่ ได้แก่ อะแมนตาดีน ไรแมนตาดีน และ โอเซลทามิเวียร์ วิธีการป้องกันไข้หวัดใหญ่ที่ดีที่สุดคือ การฉีดวัคซีน แต่ก็มีบางกรณีที่จำเป็นต้องให้ยาเพื่อป้องกันไข้หวัดใหญ่

ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับวัคซีนไม่ทัน ทำให้ต้องได้รับยาในช่วงที่มีการระบาดของโรค

ผู้ที่ดูแลกลุ่มเสี่ยงและไม่ได้รับการฉีดวัคซีน ควรจะได้รับยาในช่วงที่มีการระบาดของโรค

ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันไม่ดี เช่น โรคเอดส์

กลุ่มคนที่ไม่ได้ฉีดวัคซีน และไม่อยากเป็นโรค

< กลับสู่หน้าหลัก

สร้างโดย: 
นายฌัฐพล ชัยศรี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 327 คน กำลังออนไลน์