• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:501fb009c75092e0268cdc0ac004ee3d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><dt><span style=\"color: #008000\"><strong>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"100\" width=\"350\" src=\"/files/u20346/2_0.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>  </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"274\" width=\"200\" src=\"/files/u20346/book06.gif\" border=\"0\" style=\"width: 166px; height: 239px\" />\n</div>\n<p></p></strong></span></dt>\n<dt>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"> </span><a href=\"http://www.rsu.ac.th/soc/picture/book06.gif\"><span style=\"color: #008000\">http://www.rsu.ac.th/soc/picture/book06.gif</span></a>\n</div>\n</dt>\n<dt>\n<div>\n<span style=\"color: #008000\"><strong>พุทธธรรม</strong> <img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u20346/Emoticon_080_Olympic2008.gif\" border=\"0\" /></span>\n</div>\n</dt>\n<dt><span style=\"color: #008000\">พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. ๒๕๑๔ </span></dt>\n<dt><span style=\"color: #008000\">พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) </span></dt>\n<dt><span style=\"color: #008000\">(พ.ศ. ๒๔๘๑ - ) </span></dt>\n<dt><span style=\"color: #008000\"></span></dt>\n<dt><span style=\"color: #008000\">พุทธธรรม เป็นหนังสือที่แสดงถึงหลักธรรมในพุทธศาสนาได้อย่างลุ่มลึก เป็นระบบและรอบด้านที่สุดเท่าที่เคยมีมาในภาษาไทย แม้ว่าก่อนหน้านี้จะมีหนังสือหลายเล่ม ที่ว่าด้วยหลักธรรมอย่างถึงแก่น   อันสะท้อนถึงปรีชาญาณของผู้เขียน  แต่ข้อเขียนเหล่านั้น ยากที่จะมีคุณสมบัติสามประการครบถ้วน<br />\n</span></dt>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">อาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ผู้อาราธนาให้พระเดชพระคุณท่านนิพนธ์หนังสือสำคัญนี้ กล่าวในบทแนะนำพุทธธรรม (วารสารธรรมศาสตร์ ฉบับเดือนธันวาคม ๒๕๒๕ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๔ ) โดยประเมินคุณค่าผลงานนี้ทรงคุณค่าอย่างสูง คือ </span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #008000\">หนังสือเล่มนี้ อาจกล่าวได้ว่า เป็นข้อเขียนสาระสำคัญของคำสอนในพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ที่ดีที่สุดเท่าที่เคยมีมาในวรรณกรรมภาษาไทย การเขียนก็ใช้ภาษาที่สละสลวย และมีลีลาชวนให้ผู้อ่านติดตามอย่างยิ่ง</span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">หนังสือนี้แบ่งออกเป็น ภาคมัชเฌนธรรม หลักความจริงที่เป็นกลางตามธรรมชาติ คือ</span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #008000\">การศึกษาค้นคว้าและอธิบายธรรมบนหลักการอริยสัจ ๔ </span></li>\n<li><span style=\"color: #008000\">การศึกษาวิจัย และนำเสนออย่างเป็นระบบ สะดวกต่อการศึกษาของผู้ใฝ่ใจ </span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">กระทั่งสามารถเลือกอ่านตอนใดก่อนก็ได้ เพราะแต่ละตอนมีความสมบูรณ์ในตัว ถึงผลงานนี้หนักแน่นด้วยหลักธรรมลึกซึ้ง หากท่านผู้นิพนธ์สามารถสื่อสารกับผู้รับสื่อได้ง่ายขึ้น ดังการขยายความอริยสัจ ๔ และนำมาวิเคราะห์สู่แนวทางดำเนินชีวิตบนพื้นฐานการพึ่งตนเอง เกิดสันติสุข และสังคมมีสันติภาพ ดังลำดับออกเป็นดังนี้</span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #008000\">ชีวิตคืออะไร ประกอบด้วยขันธ์ ๕ อันส่วนประกอบของชีวิตกับอายตนะ ๖ แดนรับรู้ และเสพเสวย </span></li>\n<li><span style=\"color: #008000\">ชีวิตเป็นอย่างไร ประกอบด้วยพระไตรลักษณ์ (ทุกข์ อนิจจัง และอนัตตา) </span></li>\n<li><span style=\"color: #008000\">ชีวิตเป็นไปอย่างไร</span></li>\n<li><span style=\"color: #008000\">ชีวิตควรเป็นอย่างไร อธิบายถึงวิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน ประโยชน์ยอดยิ่งที่พึงรับในชีวิต ความเข้าใจเรื่องนิพพาน การวิปัสสนา หลักธรรมอนัตตา และหลักการสำคัญของเรื่องนิพพาน เสริมด้วยคุณธรรมพื้นฐานของอารยชนและบทความประกอบ เรื่องชีวิต<br />\n บทความประกอบเรื่องชีวิต  เช่น<br />\n       -  บทความประกอบเรื่องศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม <br />\n       -  บทความประกอบเรื่องปาฏิหาริย์กับเทวดา <br />\n       -  บทความเรื่องปัญหาเนื่องด้วยแรงจูงใจ <br />\n       -  บทความประกอบเรื่องสุดท้าย เรื่องความสุข      </span></li>\n<li><span style=\"color: #008000\">ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร อธิบายสาระเกี่ยวกับบทนำของมัชฌิมปฏิปทา คือ ปรโตโฆสะที่ดี การมีโยนิโสมนสิการ  การเกิดปัญญา ศีลและสมาธิ </span></li>\n</ul>\n<dt><span style=\"color: #008000\"><strong>แหล่งข้อมูล</strong> <img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u20346/785.gif\" border=\"0\" style=\"width: 42px; height: 42px\" /></span></dt>\n<ul>\n<li><a href=\"http://www.rsu.ac.th/soc/corner95.html\"><span style=\"color: #008000\">http://www.rsu.ac.th/soc/corner95.html</span></a></li>\n<li><a href=\"http://www.nkgen.com/sti400.htm\"><span style=\"color: #008000\">http://www.nkgen.com/sti400.htm</span></a></li>\n</ul>\n', created = 1720102791, expire = 1720189191, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:501fb009c75092e0268cdc0ac004ee3d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พุทธธรรม

 

พุทธธรรม
พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. ๒๕๑๔
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต)
(พ.ศ. ๒๔๘๑ - )
พุทธธรรม เป็นหนังสือที่แสดงถึงหลักธรรมในพุทธศาสนาได้อย่างลุ่มลึก เป็นระบบและรอบด้านที่สุดเท่าที่เคยมีมาในภาษาไทย แม้ว่าก่อนหน้านี้จะมีหนังสือหลายเล่ม ที่ว่าด้วยหลักธรรมอย่างถึงแก่น   อันสะท้อนถึงปรีชาญาณของผู้เขียน  แต่ข้อเขียนเหล่านั้น ยากที่จะมีคุณสมบัติสามประการครบถ้วน

อาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ผู้อาราธนาให้พระเดชพระคุณท่านนิพนธ์หนังสือสำคัญนี้ กล่าวในบทแนะนำพุทธธรรม (วารสารธรรมศาสตร์ ฉบับเดือนธันวาคม ๒๕๒๕ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๔ ) โดยประเมินคุณค่าผลงานนี้ทรงคุณค่าอย่างสูง คือ

  • หนังสือเล่มนี้ อาจกล่าวได้ว่า เป็นข้อเขียนสาระสำคัญของคำสอนในพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ที่ดีที่สุดเท่าที่เคยมีมาในวรรณกรรมภาษาไทย การเขียนก็ใช้ภาษาที่สละสลวย และมีลีลาชวนให้ผู้อ่านติดตามอย่างยิ่ง

หนังสือนี้แบ่งออกเป็น ภาคมัชเฌนธรรม หลักความจริงที่เป็นกลางตามธรรมชาติ คือ

  • การศึกษาค้นคว้าและอธิบายธรรมบนหลักการอริยสัจ ๔
  • การศึกษาวิจัย และนำเสนออย่างเป็นระบบ สะดวกต่อการศึกษาของผู้ใฝ่ใจ

กระทั่งสามารถเลือกอ่านตอนใดก่อนก็ได้ เพราะแต่ละตอนมีความสมบูรณ์ในตัว ถึงผลงานนี้หนักแน่นด้วยหลักธรรมลึกซึ้ง หากท่านผู้นิพนธ์สามารถสื่อสารกับผู้รับสื่อได้ง่ายขึ้น ดังการขยายความอริยสัจ ๔ และนำมาวิเคราะห์สู่แนวทางดำเนินชีวิตบนพื้นฐานการพึ่งตนเอง เกิดสันติสุข และสังคมมีสันติภาพ ดังลำดับออกเป็นดังนี้

  • ชีวิตคืออะไร ประกอบด้วยขันธ์ ๕ อันส่วนประกอบของชีวิตกับอายตนะ ๖ แดนรับรู้ และเสพเสวย
  • ชีวิตเป็นอย่างไร ประกอบด้วยพระไตรลักษณ์ (ทุกข์ อนิจจัง และอนัตตา)
  • ชีวิตเป็นไปอย่างไร
  • ชีวิตควรเป็นอย่างไร อธิบายถึงวิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน ประโยชน์ยอดยิ่งที่พึงรับในชีวิต ความเข้าใจเรื่องนิพพาน การวิปัสสนา หลักธรรมอนัตตา และหลักการสำคัญของเรื่องนิพพาน เสริมด้วยคุณธรรมพื้นฐานของอารยชนและบทความประกอบ เรื่องชีวิต
    บทความประกอบเรื่องชีวิต  เช่น
          -  บทความประกอบเรื่องศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
          -  บทความประกอบเรื่องปาฏิหาริย์กับเทวดา
          -  บทความเรื่องปัญหาเนื่องด้วยแรงจูงใจ
          -  บทความประกอบเรื่องสุดท้าย เรื่องความสุข     
  • ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร อธิบายสาระเกี่ยวกับบทนำของมัชฌิมปฏิปทา คือ ปรโตโฆสะที่ดี การมีโยนิโสมนสิการ  การเกิดปัญญา ศีลและสมาธิ
แหล่งข้อมูล
สร้างโดย: 
นางสาวยุวดี เปาอินทร์ ครูที่ปรึกษา และนางสาวรวิพร วิบูลย์กิจวรกุล โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 660 คน กำลังออนไลน์